Page 18 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 18

2-6 วิทยาศาสตร์แ​ ละเ​ทคโนโลยี​การ​พิมพ์​และบ​ รรจุภ​ ัณฑ์

2. 	ทฤษฎก​ี รด-เบสข​ องเ​บร​ ิน​ส​เตด-ลาว​รี

       โยฮันเนส นิ​โค​เลา​ส์ เบ​ริน​ส​เตด (Johannes Nicholaus Brensted) นัก​เคมี​ชาว​เดนมาร์ก และทอมั​ส​
มาร์​ติน ลาว​รี (Thomas Martin Lowry) นัก​เคมี​ชาวอ​ ังกฤษ ต่างไ​ด้​ให้ค​ ำ�​นิยาม​ของ​กรด​และเ​บสใ​นเวลาใ​กล้​เคียง​กัน
ด้วยค​ วามห​ มายท​ ี่ส​ อดคล้องก​ ันโ​ดย​เน้น​การ​พิจารณาท​ ี่​โปรตอน (H+)* เป็นห​ ลัก​ดังนี้

       กรด คือ สาร​ที่ส​ ามารถใ​ห้โ​ปรตอน​กับส​ าร​อื่น
       เบส คือ สาร​ที่ร​ ับ​โปรตอนจ​ ากส​ ารอ​ ื่น

                                                            	 H3O+ + Cl—
  HCl + H2O	

จสา่วกนส​ Hมก2OารจHัดCเ​ปl็นจ​เัดบ​เสป​เ็นพกรร​าะดร​ ับเพ​โปราระต​ใอหน้​โป(รHต+อ)นจา(Hก+H) CกlับแHล้ว2Oกล​แาลย้ว​เปก็นล​ าHย3เ​ปO็น+ Cl—

	                                                           	 NH4+ + OH—
      H2O + NH3	

จจแะาลก​เะหส​็นNม​ไHกดา3้ว​ร่าเปHH็น22Oเ​Oบสจเัดปเพ​เ็นปรไ​็นาดะก้​ท​รร​ั้งับด​กโ​ปรเดพรต​แราลอะะนใ​​เหบ(H้​โสป​ใ+รน)ต​สจอถานกาน(HHก2า+Oร)ณกแ์ท​ับลี่ต​้วN่ากงHล​ก​า3ันยแ​เปล็้นวกNล​ าHย4+เ​ป็น OH—
ข้อ​สังเกตป​ ระการห​ นึ่ง​ที่ม​ ีอ​ ยู่ใ​นส​ มการ​คือ การใ​ช้​เครื่องหมาย                ระหว่างส​ าร​ตั้งต​ ้นก​ ับผลิตภัณฑ์

หมายความ​ว่า ปฏิกิริยา​ทางซ​ ้าย​และ​ขวาส​ ามารถ​เปลี่ยน​กลับ​ไป​มา​ได้ ดัง​นั้น​ถ้า​พิจารณา​สมการ

  HCl + H2O  	                                                	 H3O+ + Cl—

ขวา​มือ Hพ3ิจOา+รณทาำ�​ทห​ านง้า​ซท้าี่​เยป​ม็นือก​พ​รบด​วแ่าลHะCCll—ทำ�ท​หำ�นห​ ้านท้าี่​เทปี่​เ็นปก็น​ร​เบดสแดละ้วยH​เห2ตOุผทลำ�ข​​หอนงก​้าทารี่​เป​พ็นิจ​เาบรสณ​แาลแ​ ะบ​ใบนเ​ทดาียงว​กกลันับจ​กึงัน​เข​คียือน​เจปา็นก​​
สมการ

HCl + H2O  	                                                  	H3O++ Cl—
กรด    เบส                      กรด     เบส

และ​ในท​ ำ�นองเ​ดียวกันส​ ามารถแ​ สดงใ​นส​ มการ NH3 กับ H2O ได้​ดังนี้

NH3 + H2O  	                                                  	  NกรHด+4    +  OเบHส—

เบส     กรด                    	

         *(H+) คือ อะตอม​ของ​ไฮโดรเจน (hydrogen, H) ที่​เสีย​อิเล็กตรอน​ไป 1 ตัว เนื่องจากใ​น​อะตอม​ของ H มี​อิเล็กตรอน (ประจุล​ บ) และ​
โปรตอน (ประจุบ​ วก) อย่าง​ละ 1 อนุภาค เมื่อ H เสีย​อิเล็กตรอนไ​ป 1 ตัว จึงมีโ​ปรตอน​เหลือ​อยู่เ​พียง 1 อนุภาค และเ​ขียน​แทน​ได้ด​ ้วย H+ จึง​ใช​้
ใน​ความ​หมาย​เดียวก​ ับ​โปรตอน​ได้
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23