Page 19 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 19

กรด เบส และ​เกลือ 2-7

       การ​เขียนส​ มการข​ ้างบ​ นม​ ีล​ ักษณะเ​ป็นค​ ู่​กรด-เบส
H2O กลาอโยดย​เยป่าใ​ง็นนไรส​H​กม3็ตกOาา+มร​สแHาลรCะ​บ​ใlนา+งท​​ชHานง2ิดก​O​ไลมับ่ม​กี​ไันฮโHด3รOเจ+  นHใ​ทห3ี่​จ้OHะ+​ท+ำ�+กใหับC้​เlCก— ิดl —​กHทาCำ�รใl​ถหม่า้ ยี​บCเทlท—บ​โกปาลทราตเ​ปยอ​เ็นปนก็น​ต​ราดHม​เC​นพlิยราาะมใ​​ขหอ้ งHเบ+แ​รกิน่​สH​เต2Oด-ทลำ�าใวห​รี้
จึง​มีข​ ้อ​จำ�กัดใ​นก​ าร​ใช้แ​ ละม​ ีก​ าร​ให้​คำ�น​ ิยามข​ อง​กรด-เบส​ใน​ทัศนะ​อื่นอ​ ีก

3. 	ทฤษฎ​กี รด-เบส​ของ​ลิวอ​ สิ

       กิลเบิร์ต นิว​ตัน ลิว​อิส (Gilbert Newton Lewis) นัก​เคมี​ชาวอ​ เมริกัน​ได้​เสนอน​ ิยาม​ของก​ รด-เบส โดยใ​ห้​
ความส​ ำ�คัญก​ ับ​อิเล็กตรอนแ​ ทนที่จ​ ะ​เป็นโ​ปรตอน โดย​ให้น​ ิยามว​ ่า

            กรด คือ  	สาร​ที่​รับ​คู่อ​ ิเล็กตรอน
            เบส คือ 	 สาร​ที่​ให้​คู่อ​ ิเล็กตรอน
       โดย​ความ​หมาย​นี้​ปฏิกิริยา​ระหว่าง​กรด​กับ​เบส​จึง​เป็นการ​ใช้​อิเล็กตรอน​ร่วม​กัน​ระหว่าง​สาร​ทั้ง​สองและ​เมื่อ​
พิจารณา​ใน​ราย​ละเอียด สาร​ที่​จัด​ว่า​เป็น​เบส​จะ​ต้อง​มี​คู่​อิเล็กตรอน​อิสระ​ที่​สามารถ​ให้​แก่​สาร​อื่น​ที่ขาด​อิเล็กตรอน​และ​
สาร​ที่​เป็นก​รด​จะ​ต้อง​ขาด​คู่​อิเล็กตรอน การ​ใช้​อิเล็กตรอน​ร่วม​กัน​หนึ่ง​คู่​ระหว่าง​อะตอมสอง​อะตอม ทำ�ให้​เกิด​พันธะ​
โค​ออร์ดิ​เนต​โค​เว​เลน​ต์ เพราะ​อิเล็กตรอน​คู่​ที่​ใช้​ร่วม​กัน​มา​จาก​อะตอม​ใด​อะตอมหนึ่ง​เพียง​อะตอม​เดียว ดัง​แสดง​ได้​
จาก​สมการท​ ั่วไป​ดังนี้

          A + :B  AB

ตัวอย่าง

               F      H                          F         H
          F — B + : N — H              F — B         N — H
               F      H                         F         H

จอึงอเ​กก​เิดทก​ตาจรดใ​าังชก​น้อ​ส​ั้นิเมลจ​ก็กึงา​ตตร้อรBองกนใาน​รร่วอ​BมิเFล​ร3ะ็กหมตวี​อร่าอิเงลนN็กม​ตากรเ​ับพอิ่นมBว​อ​โงีกดนย2อทกตี่​อ​สัวิเุดลใน็ก6ตข​ตณรัวอะนข​ทท​าี่ ดNี่ใ​ชอ​ ใ้ร​ีกน่ว2มN​กตHันัว3น​จมั้นึงีอ​​จเปิเะล็น​ค็ก​อรตบิเลร8็กอนตเพ​ทรอื่อี่​ยน​จังะ​ขไม​ไอด่​ไงด้​เสN้​ใถชพีย้​เหันรลตธือะาม​อ​ทยก​ี่เ​กู่ฎ2ิด​ขข​ตอึ้นัวง​​
เป็น​พันธะ​โค​ออร์ดิ​เนตโ​ค​เวเ​ลนต​ ์​ระหว่าง N กับ B

       จาก​ข้อมูล​ข้าง​ต้น​แสดง​ให้​เห็น​ว่า​นิยาม​ของ​กรด-เบส​มี​ได้​หลาย​ทัศนะ แต่ละ​ทัศนะ​จะ​ใช้ได้ตาม​สถานการณ์​
ที่​เกี่ยวข้อง เช่น ถ้าพ​ ิจารณาส​ าร​ในส​ ภาพ​ที่​เป็นส​ ารละลาย มี​นํ้าเ​ป็นต​ ัว​ละลายส​ ามารถใช้​นิยาม​ของ​ อาร์เรเ​นียส​ ไ​ด้ แต​่
ถ้า​สาร​ที่​พิจารณา​ไม่​ละลาย​นํ้า แต่​มี​ไฮโดรเจน​ก็​อาจ​พิจารณา​ตาม​นิยาม​ของเบ​ริน​ส​เตด-ลาว​รี และ​หาก​สาร​ที่​พิจารณา​
​ไม่​ละลาย​นํ้าแ​ ละ​ไม่มี​ไฮโดรเจน​ก็​พิจารณาจ​ าก​นิยาม​ของ​ลิวอ​ ิส
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24