Page 24 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 24

2-12 วิทยาศาสตร์แ​ ละเ​ทคโนโลยีก​ าร​พิมพ์​และบ​ รรจุภ​ ัณฑ์

แตก​ตัว​ไดก้ม​าราร​กู้ค​​ห่ารKือน​a ห้อยรือก​ วK่าbก​ ขันอดงก​ังร​แดสแ​ดลงะ​ไดเ​บ้​จสาใ​กด​ตๆัวอทยำ�ใ่าหงต​้ส​ ่อาม​ไปาร​นถี้ บ​ อกไ​ด้ว​ ่าก​ รดห​ รือเ​บสช​ นิดใ​ดม​ ีค​ วามสามารถใ​นก​ าร​

ตวั อย่าง​ที่ 2.1 กรด HA และก​ รด HB เป็นกร​ ดอ​ ่อน กรด HA มีค​ วาม​เข้ม​ข้น 0.1 โม​ลาร์ แตกต​ ัว​ได้ร้อยล​ ะ 2 และ​
กรด HB ความ​เข้มข​ ้น 0.2 โม​ลาร์ แตก​ตัว​ได้​ร้อยล​ ะ 1 กรดช​ นิด​ใด​แตกต​ ัว​ได้​มากกว่า​กัน
วธิ ท​ี �ำ
            สตาอ้ รงลค​ ะ�ำ ลนาวยณHห​ Aาค​ า่เขK้มaข​ข้นอง0ก​.1รดโมH​ลAารแ์​แลตะกK​ตaัวขไ​ดอง้​รก​้อรยดล​ Hะ B2  แล้วน​ ำ�ค​ า่  Ka  ของก​ รดท​ ั้งส​ องช​ นดิ ม​ าเปรียบเ​ทียบก​ นั
                                                                                                                 หมายถ​ ึง

            สารละลาย HA 100 โมล​ต่อ​ลิตร แตกต​ ัวไ​ด้ 2 โมล​ต่อ​ลิตร

            ถ้าส​ ารละลาย HA 0.1 โมล​ต่อ​ลิตร แตก​ตัวไ​ด้ 	 = 	          2 1×000.1  	                                                โมล​ต่อ​ลิตร
            		
                                                                         2 1×000.1  	
            นั่น​คือ ในส​ ารละลาย​มีค​ วาม​เข้ม​ข้นข​ อง H+	 = 	                                                                     โมลต​ ่อล​ ิตร
            		
            	 = 	 2.0 × 10—3 	 โมล​ต่อล​ ิตร
                                                                  H+ + A—
            จาก​สมการก​ าร​แตก​ตัวข​ องก​ รด     HA
            H+ และ A— ที่แ​ ตก​ตัว​ได้ม​ ีค​ วามเ​ข้ม​ข้นเ​ท่า​กันต​ าม​กฎข​ องก​ าร​แตกต​ ัว ดัง​นั้น [H+] = [A—]   =   2.0 × 10—3
โมล​ต่อ​ลิตร และย​ ัง​มี [HA] ที่​เหลือห​ ลังจ​ าก​การ​แตกต​ ัว​อีก 0.1 – (2.0 × 10—3) โมลต​ ่อ​ลิตร

            คำ�นวณ​ค่า Ka ของ HA ได้จ​ ากส​ มการ Ka 	         =	         [H+] [A—]
                                                                          [HA]

            แทน​ค่า [HA] [H+] และ [A—] ในส​ มการ​จะ​ได้

            	 Ka	                                             =	         (2.0 × 10—3) (2.0 × 10—3)
            		                                                             [0.1 – (2.0 × 10—3)]

                                                              =	            4.0 × 10—6                                                 =    4.08  ×  10—5
                                                                              0.098

            ในท​ ำ�นองเ​ดียวกันห​ าค​ ่า Kb ของ HB เมื่อส​ ารละลายข​ องก​ รด HB เข้มข​ ้น 0.2 โมลต​ ่อล​ ิตร แตกต​ ัวได้ร​ ้อยล​ ะ 1

            นั่น​คือ  ในส​ ารละลายม​ ี  [H+]  =    1  × 0.2     =   2.0  ×                                       10—3 	  โมล​ต่อล​ ิตร
            		                                        100

            ใน​สารละลายม​ ี [H+] = [B—] = 2.0 × 10—3 	 โมลต​ ่อล​ ิตร
            และม​ ี [HB] เหลืออ​ ีก 0.2 — (2.0 × 10—3 ) = 0.198 	 โมล​ต่อล​ ิตร
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29