Page 28 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 28
2-16 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพ ิมพ์แ ละบ รรจุภ ัณฑ์
pOH = —log 10—14
H+
= —log 1014 — log [H+]
= 14 — pH
นั่นคือ pH + pOH = 14
จากสมการข้างบน แสดงว่าถ้าทราบค่า pH หรือ pOH ค่าใดค่าหนึ่ง จะสามารถคำ�นวณหาอีกค่าหนึ่งได้
ตัวอย่างเช่น สารละลายชนิดห นึ่งมีค่า pH เท่ากับ 2 แสดงว่ามี pOH เท่ากับ 14 — 2 เท่ากับ 12
จากข้อส รุปข ้างต ้นส ามารถนำ�ม าใช้ป ระโยชน์ในก ารคำ�นวณหาค่า pH และ pOH ของสารละลายเพื่อแ สดง
ความเป็นกรดหรือเบสของสารละลายดังกล่าวได้ เมื่อทราบค่าความเข้มข้นของ H+ หรือ OH— ในสารละลายนั้น
ดังตัวอย่าง
ตัวอย่างท่ี 2.3 จงคำ�นวณหาค่า pH ของสารละลายที่มีความเข้มข้นของไฮโดรเจนเท่ากับ 3.8 × 10—4 โมลต่อลิตร
กำ�หนดให้ log 3.8 = 0.58, log 10 = 1
วิธที ำ�
กำ�หนดให้ [H+] = 3.8 × 10—4 โมลต่อล ิตร
pH = —log [H+]
= —[log (3.8 × 10—4)]
= —[ log 3.8 — 4 log 10]
= —log 3.8 + 4 log 10
= —0.58 + 4
= 3.42
ตวั อยา่ งท ี่ 2.4 จงคำ�นวณห าค่า pH ของสารละลาย NaOH เข้มข ้น 0.01 โมลต ่อลิตร
วธิ ที �ำ
NaOH แตกต ัวเป็นไอออนหมด ดังน ั้น [OH—] = 0.01 หรือ 10—2 โมลต ่อล ิตร
เนื่องจาก [H+] [OH—] = 10—14 เสมอ
10-14 10—14
ดังน ั้น [H+] = [OH—] = 10—12 = 10—12 โมลต่อลิตร
pH = —log [H+]
= —log [10-12]
= 12 log 10
= 12