Page 23 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 23
กรด เบส และเกลือ 2-11
ไอออนลดคล่างKไป1ใมนาแกตก่ลวะ่าขKั้น2ทแั้งลนะี้เพKร2ามะกาการกแวต่ากKต3ัว(ข ั้Kน1ท ี่ > Kเป2็น>กาKร3ป )ลแ่อสยดโปงรวต่ากอานรจแาตกกโมตัเวลเปก็นุลไทอี่เปออ็นนกจละาทง ำ�ซใึ่งหง้จ่าำ�ยนกววน่า
1
การแตกตัวขั้นที่ 2 ที่โปรตอนถ ูกป ล่อยอ อกจากไอออนลบที่มีป ระจุ —1 และในข ั้นที่ 3 การแตกต ัวข องโปรตอนจะย ิ่ง
ยากข ึ้นเพราะต ้องหลุดอ อกจ ากไอออนลบที่มีประจุ -2 สรุปต ัวอย่างค่า Ka ของก รดที่อ ุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียสด ัง
ตารางท ี่ 2.1 ดังนี้
ตารางท่ี 2.1 ตัวอยา่ งคา่ Ka ของกรดท อี่ ณุ หภูมิ 25 องศาเซลเซียส
ช่ือก รด สูตร ค่า Ka
กรดแ อซ ีต ิก CH3COOH 1.8 × 10—5
กรดไฮโดรไซยาน ิก HCN 4.0 × 10—10
กรดซ ัลฟิวรัส H2SO3 10—2
K1 = 1.3 × 10—8
K2 = 6.3 ×
2. การแ ตกต วั เปน็ ไ อออนของเบสอ ่อน
การแตกตัวเป็นไอออนของเบสอ่อนก็สามารถอธิบายได้ในทำ�นองเดียวกันกับการแตกตัวของกรดอ่อน คือ
การแ ตกต วั ไดไ้ อออน OH— จ�ำ นวนน อ้ ยในส ารละลายท ภี่ าวะส มดลุ ตวั อยา่ งเชน่ การแ ตกตวั เปน็ ไอออนข องแ อมโมเนยี
ดังนี้ NH+4 + OH—
NH3 + H2O
ใช้สัญลักษณ์ Kb แทนค่าคงตัวการแ ตกตัวเป็นไอออนของเบส (base-dissociation constant) ดังนี้
[NH4+] [OH—]
Kb = [NH3]
ค่า Kb เป็นค่าคงตัวเฉพาะอุณหภูมิเช่นเดียวกับค่าค งตัวสมด ุลอ ื่นๆ และใช้บอกความแ รงข องเบสได้ เบสแก่
แตกตัวได้อย่างส มบูรณ์ ค่า Kb ของเบสแก่ม ีค ่าสูง จึงไม่นิยมกล่าวถึง Kb ของเบสแก่เช่นเดียวก ับกรดแก่ ตัวอย่างค่า
Kb ของเบสอ่อน แสดงในต ารางท ี่ 2.2 ดังนี้
ตารางท ี่ 2.2 ตวั อยา่ งค า่ Kb ของเบสท่อี ุณหภมู ิ 25 องศาเซลเซยี ส
ช่อื เบส สูตร ค่า Kb
NH3(aq) 1.8 × 10—5
น้ําแอมโมเนีย CH3NH2 3.7 × 10—4
เมทิลอ ะมีน