Page 20 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 20
2-8 วิทยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยีการพิมพ์แ ละบ รรจุภ ัณฑ์
กิจกรรม 2.1.1
1. การใหน้ ยิ ามข องก รดแ ละเบส ของ อารเ์ รเนยี ส เบร นิ ส เตด-ลาวร ี และล วิ อ สิ มจี ดุ เนน้ ในก ารพจิ ารณา
ท่ีแตกต า่ งก นั อยา่ งไร
2. จากส มการตอ่ ไปนี้ จงร ะบุว่าสารใดเปน็ กรด และสารใดเปน็ เบสตามนยิ ามข องเบร นิ สเตด-ลาวร ี
H3O+ + HSO-4
2.1 H2SO4 + H2O
2.2 NH3 + H2O NH4+ + OH-
แนวตอบก ิจกรรม 2.1.1
1. จดุ เน้นในการพจิ ารณานิยามข องก รด-เบส
อารเ์ รเนยี ส : ความสามารถในก ารแตกตวั ให้ H+ หรือ OH-ของส ารเมื่อล ะลายในนํา้
เบรนิ สเตด-ลาวร ี: การให/้ รบั โปรตอน (H+)
ลวิ อสิ : การให/้ รบั อเิ ลก็ ตรอน
2. ระบชุ อ่ื สารท ่ีเปน็ กร ดแ ละเบสตามนยิ ามข องเบรินสเตด-ลาวร ี
NHH3O+4+ HOSHO- 4-
2.1 NH2HS3O4 เป็นกรด HH22OO เปน็ เบส, เปน็ กรด เป็นเบส
2.2 เปน็ เบส เปน็ กร ด, เป็นกรด เปน็ เบส
เรือ่ งที่ 2.1.2
การแ ตกตัวของก รดแ ละเบส
ในก ารพ จิ ารณาก ารแ ตกต วั ข องก รดแ ละเบสจ ะพ จิ ารณาค วามห มายข องก รดแ ละเบสต ามน ยิ ามข อง อารเ์ รเนยี ส
ที่ว่า กรด คือ สารท ี่สามารถแตกตัวให้ H+ และ เบส คือ สารที่สามารถแตกตัวให้ OH—
ดังนั้นปริมาณของไอออนทั้งสองชนิดในสารละลาย จึงเป็นตัวบ่งชี้ความแรงของกรดและเบสได้ ถ้าใน
สารละลายก รดชนิดใดมีป ริมาณ H+ มาก กรดน ั้นเป็นกรดแก่ ในสารละลายเบสชนิดใดม ีปริมาณ OH— มาก เบสนั้น
เป็นเบสแก่ และในทางตรงกันข้ามถ้ามีไอออนทั้งสองชนิดเพียงเล็กน้อยในสารละลายกรดหรือเบสใด กรดหรือเบส
นั้นเป็น กรดอ ่อนห รือเบสอ่อน
กรดแกแ่ ละเบสแ กส่ ามารถแ ตกต วั ไดส้ มบรู ณ์ กรดอ อ่ นแ ละเบสอ อ่ นแ ตกต วั ไมส่ มบรู ณ์ และใหไ้ อออนไดน้ อ้ ย
ตัวอย่างข องก รดแก่ เช่น กรดไฮโดรค ลอริก กรดซ ัลฟิวริก กรดไนท ริก
(hydrosuตตlpััววอhอยuย่าr่าiงงcเกบaรสcดแidอก,่อ่ Hเนช2่นSเช)โ่นซเดกียรมดไแฮอดซรีตอ ิกกไกซดรด์ แคคาลร์เบซอียนมิกไฮ(ดcรaอrกbไoซnดic์ โพacแiทdส,เซHีย2มCไOฮด3)รอกกรไดซไดฮ์ โ(ดpรoซtaัลsฟsiิวuรmิก
hydroxide, KOH)