Page 31 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 31
กรด เบส และเกลือ 2-19
เรอ่ื งที่ 2.1.4
สารละลายบ ัฟเฟอร์
การเติมกรดหรือเบสลงในสารละลายจะมีผลให้ pH ของสารละลายเปลี่ยนแปลงไป การเปลี่ยนแปลง pH
จะม ากห รอื น อ้ ยข ึน้ อ ยกู่ บั ปรมิ าณค วามเขม้ ข น้ และช นดิ ข องก รดแ ละเบสท เี่ ตมิ ล งไป แตก่ ม็ สี ารละลายบ างช นดิ ท สี่ ามารถ
จะร กั ษา pH ของส ารละลายไมใ่ หเ้ ปลีย่ นแปลงไปม ากน กั เมือ่ เตมิ ก รดแกห่ รอื เบสแ กเ่ ลก็ น อ้ ยล งไป สารละลายด งั ก ลา่ วน ี้
เรียกว ่า สารละลายบ ัฟเฟอร์ (buffer solution)
1. สว่ นป ระกอบข องส ารละลายบ ัฟเฟอร์
สารละลายบ ัฟเฟอร์ แบ่งต ามส ่วนป ระกอบได้เป็น 2 ชนิด คือ สารละลายบ ัฟเฟอร์ท ี่ป ระกอบด ้วยก รดอ ่อนก ับ
เกลือของก รดอ ่อนช นิดเดียวกัน และสารละลายบ ัฟเฟอร์ท ี่ป ระกอบด ้วยเบสอ่อนก ับเกลือของเบสอ่อนชนิดเดียวกัน
สารละลายบ ัฟเฟอรท์ ีป่ ระกอบด ้วยก รดอ ่อนก ับเกลือข องก รดอ ่อนช นิดเดียวกัน เช่น สารละลายผสมข องก รด
แpNอhaซo2sCีตpิกOh3(aสสa)tcา่วeแรeน,ลลtNสiะะcาลaสร3aาาลPยรcะผOลidละส4,าล)มยCาขบยHอัฟผง3กCสเฟรมOดอขOครอ์าทHงรี่ปกบ์ )รรอกะดนับกฟกิ เอกอ(บcลสaดือฟr้วโbอซยoรเเnดิกบiียcส(มaอpcแ่อhiอนdoซ,sกHีเpับทh2เตCกoOr(ลsicือ3o)ขdกaอiบัcuงเimเกdบล,สaอืHอcโซe3่อPtเนดaOชtยี e4นม),ิดคCกเาดHับรบ์ียโ3ซCอวเเกOดนันOียตมN(เsชฟao่นอd) iสสuเาmฟรตลcaะ(rลsbาooยdnผiauสtmeม,
ของแ อมโมเนียมไฮด รอ กไซด์ (ammonium hydroxide, NH4OH ) กับเกลือแ อมโมเนียม คลอไรด์ (ammonium
chloride, NH4Cl)
2. กลไกก ารท �ำ งานของสารละลายบัฟเฟอร์
สารละลายบัฟเฟอร์แต่ละชนิดจะมีไอออนร่วมที่มาจากเกลือซึ่งจะไปรบกวนสมดุลเดิมของกรดอ่อนหรือ
เบสอ่อน เมื่อเติมก รดแก่ห รือเบสแ ก่ล งไปในส ารละลายเล็กน ้อย ก็จะรักษา pH ไว้ได้
2.1 กลไกการรกั ษา pH ของสารละลายบ ัฟเฟอรท์ ่ีประกอบด ้วยก รดอ่อนก ับเกลอื ของก รดออ่ นชนิดเดียวกนั
เมื่อเติมเกลือข องก รดอ ่อนล งในส ารละลายก รดอ ่อน เช่น เติมเกลือโซเดียมแ อซ เีทต (CH3COONa) ลงในก รดแ อซ ตี ิก
(CH3COOH) ปริมาณข อง CH3COO— จะเพิ่มข ึ้น ดังส มการ
เมื่อสมดุล CCHH33CCOOOONHa CNHa3+C+OCOH— 3+CHO+O—
แต่
มากข ึ้น ทCำ�ใHห3้ปCรOิมOาณ— ขทอเี่ พงิม่ Hข+ึน้ ใจนะสไปารรลบะกลวานยสนม้อดยลุ ลเดง มิ ข อง CH3COOH ใหท้ �ำ ป ฏกิ ริ ยิ าก บั H+ เปลีย่ นเปน็ CH3COOH
เมื่อเติมกรดแก่ลงไปในสารละลายเล็กน้อย H+ ที่จะมาจากกรดแก่ที่เติมลงไปจะไม่ทำ�ให้ความเข้มข้นของ
H+ จะเขา้ ไปร วมก บั CH3COO— ซึง่ ม จี �ำ นวนม ากในส ารละลาย
ไฮโดรเจนไอออนเปลีย่ นแปลงไปม ากน กั ทัง้ นเี้ นือ่ งจาก
นั้นได้ CH3COOH ดังส มการ