Page 28 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 28
3-16 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีก ารพิมพ์แ ละบ รรจุภ ัณฑ์
เร่ืองท ี่ 3.1.3
การจ �ำ แนกส ารประกอบอ ินทรยี ์
สารประกอบอ นิ ทรยี ม์ หี ลากห ลายช นดิ ทัง้ ม สี มบตั ทิ างก ายภาพแ ละท างเคมแี ตกต า่ งก นั การจ ดั จ �ำ แนกป ระเภท
ของสารประกอบอินทรีย์จะช่วยให้เข้าใจสารประกอบอินทรีย์และสามารถนำ�ไปใช้ได้ง่ายขึ้น ในการจำ�แนกประเภท
ของสารประกอบอ ินทรีย์อาศัยปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นก ับส ารเป็นหลัก โดยจ ัดส ารประกอบอินทรีย์ที่ท ำ�ปฏิกิริยาเหมือนก ัน
เป็นส ารประเภทเดียวกัน ซึ่งจ ะพ บว่า สารท ี่ม ีปฏิกิริยาเหมือนกัน ส่วนใหญ่มักมีหมู่บางหมู่ข องอ ะตอมภายในโมเลกุล
เหมือนก ัน เรียกหมู่ของอ ะตอมท ี่เหมือนกันเหล่าน ี้ว ่า หมู่ฟ ังก์ชัน (functional groups) ซึ่งเป็นหมู่ของอ ะตอมท ี่เกิด
ปฏิกิริยา
สารประกอบอินทรีย์ เป็นสารที่มีคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบหลัก และอาจมีอะตอมของธาตุ
ชนิดอ ื่นประกอบด ้วย อะตอมข องธ าตุอ ื่นน อกจากค าร์บอนแ ละไฮโดรเจนในสารประกอบอ ินทรีย์น ี้ เรียกว ่า อะตอม
วิวิธพันธุ์หรือเฮเทอโรอะตอม (heteroatom) เฮเทอโรอะตอมที่พบมากในสารประกอบอินทรีย์ ได้แก่ ออกซิเจน
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส ซัลเฟอร์ และแ ฮโลเจนซ ึ่งได้แก่ คลอรีน โบรมีน ไอโอดีน และฟลูออรีน เฮเทอโรอ ะตอมเหล่านี้
จะยึดเหนี่ยวกับอะตอมอื่นด ้วยพันธะในลักษณะต ่างกัน ส่งผลให้เกิดเป็นส ารต่างชนิดก ัน ความแ ตกต่างของอ ะตอม
และพันธะทำ�ให้เกิดเป็นหมู่ของอะตอมที่แตกต่างกันและทำ�ให้สารมีปฏิกิริยาเคมีที่ต่างกันด้วย หมู่ของอะตอม
ดังกล่าวนี้ คือ หมู่ฟ ังก์ชัน สารประกอบอ ินทรีย์ที่จำ�แนกต ามหมู่ฟังก์ชันมี 2 ประเภท คือ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
และส ารประกอบไฮโดรคาร์บอนท ี่มีเฮเทอโรอ ะตอม
1. สารประกอบไฮโดรคารบ์ อน
ไฮโดรคาร์บอน เป็นสารประกอบที่มีอะตอมของคาร์บอนและไฮโดรเจนเท่านั้น สามารถจำ�แนกได้เป็น
สารประกอบแอลิแฟติกไฮโดรคาร์บอน (aliphatic hydrocarbon) และสารประกอบแอโรแมติกไฮโดรคาร์บอน
(aromatic hydrocarbon)
1.1 สารประกอบแ อล แิ ฟติกไ ฮโดรคารบ์ อน จำ�แนกเป็นประเภทต ่างๆ ขึ้นกับเกณฑ์ในก ารจ ำ�แนก ดังนี้
1.1.1 สารประกอบแอลิแฟติกไฮโดรคาร์บอนจำ�แนกตามโครงสร้างของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
ได้เป็น 2 ประเภทคือ
1) สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดแอไซคลิก (acyclic hydrocarbon) เป็นสารที่มีคาร์บอนจับ
กันเป็นโซ่ (chain) ซึ่งอาจเป็นโซ่ต รงหรือโซ่ที่มีกิ่งส าขา
CH3
CH3 CH2 CH2 CH2 CH3 C H3 CCHH3 CH2 C H2 CCHH22 CH3
เพนเทน (pentane) 2-เอทิล-5 เมทิลเฮกเซน (2-ethyl-5 methyl hexane)