Page 24 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 24

3-12 วิทยาศาสตร์แ​ ละเ​ทคโนโลยีก​ ารพ​ ิมพ์​และบ​ รรจุภ​ ัณฑ์

อะตอมข​ องค​ าร์บอนด​ ้วยพ​ ันธะเ​ดี่ยว โดยห​ นึ่งอ​ ะตอมข​ องค​ าร์บอนจ​ ะย​ ึดเ​หนี่ยวก​ ับไ​ฮโดรเจนอ​ ะตอมจ​ ำ�นวน 2 อะตอม
ส่วน​อี​ไทน์​ประกอบ​ด้วย​คาร์บอน 2 อะตอม​ที่​ยึด​เหนี่ยว​กัน​ด้วย​พันธะ​สาม​และ​มี​ไฮโดรเจน​จำ�นวน 2 อะตอม โดย​
คาร์บอน 1 อะตอมจ​ ะ​ยึด​เหนี่ยว​กับไ​ฮโดรเจน 1 อะตอม​ด้วย​พันธะเ​ดี่ยว

       การ​เขียน​สูตร​โครงสร้าง​ของ​สารประกอบ​อินทรีย์​ยัง​สามารถ​จำ�แนก​วิธี​การ​เขียน​ออก​ได้​เป็น​หลาย​แบบ​เพื่อ​
ความส​ ะดวก​ใน​การ​ใช้ง​ านจ​ ริง ดังนี้

       2.1 		สูตร​โครงสรา้ ง​แบบ​เสน้ เป็นการใ​ช้เ​ส้นห​ รือข​ ีดแ​ ทนพ​ ันธะโ​คเ​วเ​ลนต​ ์​ระหว่างอ​ ะตอมท​ ี่อ​ ยู่ภ​ ายในโ​มเลกุล
โดยก​ ำ�หนดใ​ห้​เส้น​เดี่ยว ( ) แสดง​พันธะเ​ดี่ยว เส้นค​ ู่ (=) แสดงพ​ ันธะค​ ู่ และ 3 เส้น ( ) แสดง​พันธะ​สาม ดัง​ตัวอย่าง​
ต่อ​ไปน​ ี้

                        	 H H	 H
                        H	 C 	 H C = C H C C H
                        	 H H	 H
                                     มีเทน                   อีทีน                      อีไทน์

                         ภาพท​ ี่ 3.6 สูตรโ​ครงสรา้ ง​แบบเ​สน้ ​ของ​มีเทน อ​ที ีน และอ​ ีไ​ ทน์

       2.2 		สตู รโ​ครงสรา้ งแ​ บบย​ อ่ เป็นส​ ูตรโ​ครงสร้าง​ที่แ​ สดงก​ าร​จัดเ​รียงต​ ัวข​ องธ​ าตุต​ ่อเ​นื่องก​ ันโ​ดยไ​ม่ใ​ช้เ​ส้น​แสดง​
พันธะเ​ดี่ยว แตย่​ ังค​ งใ​ชเ้​ส้นค​ ูแ่​ สดงพ​ ันธะค​ ู่ และ 3 เส้นแ​ สดงพ​ ันธะส​ ามอ​ ยู่ นอกจากน​ ีก้​ รณมี​ โี​ครงส​ ร้างซ​ ํ้าๆ กัน สามารถ​
ใช้​วงเล็บ​และต​ ัวเลขแ​ สดงจ​ ำ�นวนท​ ี่ซ​ ํ้า​ได้ ดัง​ตัวอย่าง​ต่อไ​ป​นี้

            CH3CH2CH2CH2CH2CH3 									
	 			 			 หรือ	 	               H2C = CH2	 	 HC CH

                 CH3 (CH2)4 CH3
                 เฮก​เซน (nexane)	 	       อีท​ ีน	 	    อี​ไทน์

                        ภาพ​ท่ี 3.7 สูตรโ​ครงสรา้ ง​แบบย​ อ่ ​ของ​เฮก​เซน อี​ทีน และ​อี​ไทน์

       2.3 	สูตร​โครงสร้าง​แบบ​เส้น​ที่​ไม่​แสดง​สัญลักษณ์​ธาตุ เป็น​สูตร​โครงสร้าง​ที่​ใช้​เส้น​ตรง​แสดง​โครงสร้าง​โดย​
ไม่​ต้อง​ใช้​สัญลักษณ์​ของ​ธาตุ​คาร์บอน​และ​ไฮโดรเจน จุด​ตัด​หรือ​มุม​ของ​เส้น​จะ​แสดง​ตำ�แหน่ง​ของ​คาร์บอน​อะตอม
จุด​ปลายข​อง​เส้น​ตรง​ที่​ไม่มี​สัญลักษณ์ข​ อง​อะตอม​อื่น​แสดง​ไว้ แสดง​ว่า​เป็น​อะตอม​ของ​คาร์บอน เส้น​ตรง​ระหว่างม​ ุม​
ที่​เป็น​เส้น​เดี่ยว​ใช้​แทนพ​ ันธะเ​ดี่ยว เส้นค​ ู่​แทนพ​ ันธะ​คู่ และ 3 เส้นแ​ ทนพ​ ันธะส​ าม ส่วน​จำ�นวนไ​ฮโดรเจน​ที่อ​ ะตอม​ของ​
คาร์บอน​ต่างๆ นั้น ยึด​หลัก​ว่าอ​ ะตอม​ของ​คาร์บอน 1 อะตอม สามารถจ​ ะม​ ี​พันธะไ​ด้​จำ�นวน​ทั้ง​สิ้น 4 พันธะ
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29