Page 20 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 20

3-8 วิทยาศาสตร์แ​ ละเ​ทคโนโลยี​การ​พิมพ์แ​ ละบ​ รรจุภ​ ัณฑ์

            เนื่องจากภ​ ายในโ​มเลกุลข​ องส​ ารประกอบอ​ ินทรีย์โ​มเลกุลห​ นึ่งม​ ีพ​ ันธะโ​คเ​วเ​ลนต​ ์ห​ ลายพ​ ันธะอ​ ยู่ภ​ ายใน​
โมเลกลุ บางพ​ นั ธะอ​ าจแ​ สดงค​ วามเ​ปน็ ข​ ัว้ ในข​ ณะท​ บี​่ างพ​ นั ธะไ​มม่ ล​ี กั ษณะค​ วามเ​ปน็ ข​ ัว้ ผลร​ วมข​ องค​ วามเ​ปน็ ข​ ัว้ ภ​ ายใน​
โมเ​ล​ ก​ ุลข​ องส​ ารประกอบอ​ ินทรียท์​ ีเ่​กิดจ​ ากพ​ ันธะห​ ลายๆ พันธะภ​ ายในโ​มเลกุล สามารถแ​ สดงไ​ดด้​ ้วยค​ ่าไ​ดโ​พลโ​มเมนต์
(dipole moment) มี​หน่วยเ​ป็น​เด​บาย (Debye) ซึ่งเ​ขียน​แทน​สัญลักษณ์​ด้วย D

            ความเ​ป็นข​ ั้วโ​ดยร​ วมข​ องส​ ารประกอบอ​ ินทรียเ์​ป็นส​ ิ่งส​ ำ�คัญท​ ีบ่​ ่งช​ ีส้​ มบัตใิ​นก​ ารล​ ะลายข​ องส​ ารประกอบ​
อินทรีย์​นั้น สารประกอบอ​ ินทรีย์​ที่​มี​ความ​เป็น​ขั้ว​มาก​จะ​ละลาย​ได้​ดี​ใน​ตัว​ละลาย​ที่​มี​ขั้ว เช่น นํ้า แอลกอฮอล์ และ​ไม่​
ละลาย​ในต​ ัว​ละลาย​ที่​ไม่มี​ขั้ว เช่น เฮกเ​ซน (hexane) นํ้ามัน เป็นต้น ในท​ างก​ ลับ​กัน สารประกอบอ​ ินทรีย์ท​ ี่​ไม่มี​ขั้วก​ ​็
จะ​ละลาย​ได้​ดีใ​น​เฮกเ​ซน​หรือ​นํ้ามัน แต่​ไม่​ละลายใ​น​นํ้า​หรือแ​ อลกอฮอล์ กระบวนการ​แยก​สาร​ใน​เครื่องม​ ือ​หลาย​ชนิด​
ใช้​หลัก​การ​นี้​ใน​การ​แยก​สารประกอบ​อินทรีย์​ที่​มี​ลักษณะ​ความ​เป็น​ขั้ว​แตก​ต่าง​กัน​ออก​จาก​กัน​ได้ เช่น ใน​เครื่อง​มือ​
ประเภทโ​ค​รมาโ​ท​กราฟ (chromatograph) เป็นต้น

       2.2 	แรง​หรือ​พันธะ​ระหว่าง​โมเลกุล​ของ​สารประกอบ​อินทรีย์ นอกจาก​พันธะ​โค​เว​เลน​ต์​ระหว่าง​อะตอม​ที่​
ยึด​เหนี่ยว​อะตอม​เข้า​ด้วย​กัน​เป็น​โมเลกุล​ของ​สารประกอบ​อินทรีย์​แล้ว ยัง​มี​แรง​และ​พันธะ​ที่​เกิด​ขึ้น​ระหว่าง​โมเลกุล​
ของส​ ารประกอบอ​ ินทรีย์​อีกด​ ้วย ซึ่ง​ได้แก่ แรง​แวนเ​ด​อร์​วาล​ส์ และ​พันธะ​ไฮโดรเจน

            2.2.1 	แรง​แวน​เด​อร์​วาล​ส์ (Van der Waals force) มี​ทั้ง​ที่​เป็น​แรงดึงดูด​ระหว่าง​โมเลกุล​ที่​มี​ขั้ว​หรือ
แ​ รงไ​ดโ​พล-ได​โพล (dipole-dipole force) และ​เป็นแ​ รงดึงดูดร​ ะหว่าง​โมเลกุล​ที่​ไม่มี​ขั้ว

                 (1) 	แรง​ได​โพล-ได​โพล เป็น​แรง​ที่​เกิด​ขึ้น​ระหว่าง​โมเลกุล​ที่​กระทำ�​ต่อ​กัน​เมื่อ​แต่ละ​โมเลกุล​
มี​ค่า​ได​โพล​โมเมนต์ การ​จัด​ตัว​ของ​แต่ละ​โมเลกุล​เป็น​ไป​ใน​ลักษณะ​ที่​ขั้ว​บวก​ของ​โมเลกุล​หนึ่ง​อยู่​ใกล้​ขั้วลบ​ของ​อีก​
โมเลกุล​หนึ่ง ทำ�ให้​แรง​ที่​เกิด​ขึ้น​เป็น​แรงดึงดูด​ระหว่าง​โมเลกุล เช่น ใน​โมเลกุล​ของ​โบร​โม​มีเทน (bromomethane,
CH3Br)

                     ภาพ​ท่ี 3.2 การจ​ ดั เ​รียงต​ วั ​ของโ​มเลกุลท​ ่ม​ี แ​ี รงดงึ ดดู แ​ บบไ​ ดโ​พล-ได​โพล

                 (2) 	แรงดึงดูด​ระหว่าง​โมเลกุล​ที่​ไม่มี​ข้ัว จัด​เป็น​แรง​ที่​มี​ขนาด​น้อย เกิด​จาก​การ​เคลื่อนที่​ของ​
อิเล็กตรอน​ใน​พันธะ ท�ำให้​มี​การ​เปลี่ยนแปลง​การก​ระ​จา​ยอิ​เล็ก​ตรอน​ภายใน​พันธะ​เล็ก​น้อย​ที่​เวลา​ต่างๆ ส่ง​ผล​ให้​เกิด​
ความ​เป็น​ขั้ว​ชั่วคราว​ขึ้น​ภายใน​พันธะ ซ่ึง​จะ​ไป​เหน่ียว​น�ำใ​ ห้​โมเลกุล​ข้าง​เคียง​เกิด​ได​โพล​โมเมนต์​ข้ึน ได​โพล​โมเมนต์​ที​่
เกิด​ขึ้น​ชั่วคราว​และ​เปลี่ยนแปลง​อย่าง​สมํ่าเสมอ​นี้ ท�ำให้​โมเลกุล​มี​แรงดึงดูด​ระหว่าง​กัน​ได้ แต่​เป็น​แรงดึงดูด​แบบ​ไม่​
แข็งแ​ รงแ​ ละเ​กิด​ระหว่างพ​ ื้นผ​ ิว​ของโ​มเลกุล
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25