Page 19 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 19

เคมีอินทรีย์ 3-7

            เนื่องจาก​อะตอม​ของ​คาร์บอน​มี​อิเล็กตรอน​วงนอก​สุด​จำ�นวน 4 ตัว ดัง​นั้น​อะตอม​ของ​คาร์บอน​หนึ่ง​
อะตอมจ​ ึง​สามารถเ​กิด​พันธะโ​ค​เวเ​ลน​ต์​ได้ 4 พันธะ หากม​ ีก​ าร​ใช้อ​ ิเล็กตรอนว​ งนอก​สุดข​ องอ​ ะตอมค​ าร์บอน 1 ตัว​ใน​
การร​ ่วม​กับ​อิเล็กตรอนข​ องอ​ ะตอมอ​ ื่นๆ อีก 1 ตัว จะ​เกิด​เป็น​พันธะโ​ค​เว​เลน​ต์​เดี่ยว 1 พันธะ แต่​หาก​ใช้​อิเล็กตรอน​
วงนอกส​ ดุ 2 ตวั ใ​นก​ ารร​ ว่ มก​ บั อ​ เิ ลก็ ตรอนข​ องอ​ กี อ​ ะตอมห​ นึง่ เ​ปน็ จ​ �ำ นวน 2 ตวั ลกั ษณะเ​ชน่ น​ ที​้ �ำ ใหเ​้ กดิ พ​ นั ธะโ​คเ​วเ​ลนต​ ​์
คูห่​ รือพ​ ันธะค​ ู่ และใ​นก​ รณีท​ ี่ใ​ช้อ​ ิเล็กตรอนว​ งนอกส​ ุด 3 ตัว ใน​การร​ ่วมก​ ับอ​ ิเล็กตรอน​ของอ​ ีกอ​ ะตอมห​ นึ่งจ​ ำ�นวน 3 ตัว
ก็จ​ ะเ​กิดเ​ป็นพ​ ันธะโ​คเ​วเ​ลนต​ ์ส​ ามห​ รือพ​ ันธะส​ าม ส่วนพ​ ันธะโ​คเ​วเ​ลนต​ ์ส​ ี่ห​ รือพ​ ันธะส​ ี่จ​ ะไ​ม่มีโ​อกาสเ​กิดใ​นส​ ารประกอบ​
อินทรีย์เ​นื่องจากห​ ากอ​ ะตอมข​ องค​ าร์บอนเ​กิดพ​ ันธะส​ ี่แ​ ล้ว จะไ​ม่เ​หลืออ​ ิเล็กตรอนว​ งนอกส​ ุดท​ ี่จ​ ะเ​กิดพ​ ันธะโ​คเ​วเ​ลนต​ ์​
กับ​อะตอม​อื่นไ​ด้​อีก ทำ�ให้​ไม่​เกิดเ​ป็นส​ ารประกอบ​อินทรีย์​ที่​มีจ​ ำ�นวนอ​ ะตอมห​ ลายอ​ ะตอม​ใน​โมเลกุล​ได้

            สำ�หรับล​ ักษณะก​ ารจ​ ัดเ​รียงต​ ัวข​ องพ​ ันธะโ​คเ​วเ​ลนต​ ์ร​ อบๆ อะตอมข​ องค​ าร์บอนใ​นส​ ารประกอบอ​ ินทรีย​์
นั้น เช่น​เดียวก​ ับส​ ารประกอบ​โดยท​ ั่วไปท​ ี่พ​ ยายามจ​ ะใ​ห้ม​ ีก​ ารจ​ ัดเ​รียงต​ ัวใ​นล​ ักษณะ​ที่ท​ ำ�ให้เ​กิดค​ วาม​เสถียร​ในโ​มเลกุล​
มาก​ที่สุด ดัง​นั้น​สำ�หรับ​อะตอม​คาร์บอน​ที่​มี​พันธะ​เดี่ยว 4 พันธะ จะ​จัด​เรียง​ตัว​ใน​รูป​แบบ​ทรง​สี่​หน้า (tetrahedral)
ที่​มี​อะตอม​ของ​คาร์บอน​อยู่​ตรง​กลาง แต่​ถ้า​หาก​เป็น​พันธะ​คู่​หรือ​พันธะ​สาม การ​จัด​เรียง​ตัว​ของ​พันธะ​โค​วา​เลน​ต์​รอบ​
อะตอม​ของค​ าร์บอนก​ ็​จะ​ทำ�​มุม 120 องศา และ 180 องศา ต่อก​ ันต​ าม​ลำ�ดับ เพื่อ​ความส​ ะดวกใ​นก​ าร​เขียน ส่วน​ใหญ่​
จะเ​ขียนข​ ีดส​ ั้นๆ หนึ่งข​ ีดแ​ ทนห​ นึ่งพ​ ันธะโ​ดยไ​มไ่​ดค้​ ำ�นึงถ​ ึงก​ ารจ​ ัดเ​รียงต​ ัวข​ องพ​ ันธะร​ อบอ​ ะตอม ทำ�ใหใ้​นก​ ารเ​ขียนส​ ูตร​
โครงสร้างข​ องส​ ารประกอบอ​ ินทรีย์ จะส​ ังเกตเ​ห็นอ​ ะตอมข​ องค​ าร์บอนใ​นส​ ารประกอบอ​ ินทรียม์​ พี​ ันธะไ​ด้ 4 พันธะเ​สมอ
ไม่​ว่า​จะ​มี​พันธะ​คู่​หรือ​พันธะส​ าม​หรือไ​ม่ก​ ็ตาม

          ภาพท​ ่ี 3.1 การจ​ ัดเ​รียง​ตวั ข​ อง​พันธะ​โคเ​ว​เลนต​ ข​์ อง​อะตอม​คาร์บอนใ​นแ​ อล​เคน แอลค​ ีน และ​แอล​ไคน์

            2.1.2 	แรง​ได​โพล​โมเมนต์​ของ​โมเลกุล การ​ที่​พันธะ​โค​เว​เลน​ต์​ใน​สารประกอบ​อินทรีย์​เกิด​จาก​การ​ใช้​
อิเล็กตรอน​ร่วม​กัน​ระหว่าง​อะตอม​ที่​จับ​คู่​กัน หาก​อะตอม​สอง​อะตอม​ที่​ใช้​อิเล็กตรอน​ร่วม​กัน​นี้​ไม่​เหมือน​กัน และ​มี​
สมบตั อ​ิ เ​ิ ลก็ โ​ทรเ​นก​ าท​ วิ ต​ิ ตี า่ งก​ นั กลา่ วค​ อื มค​ี วามส​ ามารถใ​นก​ ารด​ งึ อ​ เิ ลก็ ตรอนใ​นพ​ นั ธะใ​หเ​้ ขา้ ม​ าใ​กลต​้ วั ไ​ดแ​้ ตกต​ า่ งก​ นั
อะตอมท​ มี​่ ค​ี า่ อ​ เิ​ลก็ โ​ทรเ​นก​ าท​ วิ ต​ิ สี​ งู ก​ จ็​ ะด​ ึงอ​ ิเลก็ ตรอนใ​นพ​ ันธะใ​หเ้​ข้าม​ าใ​กลต้​ วั ไ​ดม​้ ากกวา่ อ​ ะตอมท​ มี่​ ค​ี า่ อ​ เ​ิ ลก็ โ​ทรเ​นก​ า-
​ทิวิ​ตี​น้อย​กว่า และ​เนื่องจาก​อิเล็กตรอน​แสดง​สมบัติ​เป็น​ประจุ​ลบ ทำ�ให้​อะตอม​ทั้ง​สอง​อะตอม​ที่​จับ​คู่​เกิด​เป็น​พันธะ​
เคมี มี​ลักษณะ​ความ​เป็น​ประจุ​ลบ​ใน​พันธะ​นั้น​แตก​ต่าง​กัน ดัง​นั้น​เมื่อ​อะตอม​ที่​มี​ค่า​อิ​เล็ก​โทร​เน​กา​ทิวิ​ตี​แตก​ต่าง​กัน​
มา​จับ​คู่ก​ ัน​เกิด​เป็นพ​ ันธะโ​คเ​ว​เลนต​ ์ อิเล็กตรอน​ใน​พันธะโ​คเ​วเ​ลนต​ ์​นั้น​จะเ​ข้าไป​ใกล้​อะตอม​ที่​มี​ค่า​อิเ​ล็กโ​ทร​เนก​ า​ทิวิ​ต​ี
สูง​กว่า อะตอมน​ ี้จ​ ึง​แสดง​ความ​เป็นป​ ระจุ​ลบ​มากกว่า​อีก​อะตอมห​ นึ่ง สารประกอบท​ ี่ป​ ระกอบ​ด้วย​พันธะ​โค​เว​เลนต​ ์ใ​น​
ลักษณะ​นี้​จะ​แสดง​ความ​เป็น​ขั้ว ที่​พันธะ​โค​เว​เลน​ต์​นี้​ภายใน​โมเลกุล​เขียน​แทน​ได้​ด้วย และ สำ�หรับ​อะตอม​
ที่​แสดง​ความ​เป็น​ประจุ​บวก​และ​ประจุ​ลบ​ตาม​ลำ�ดับ แต่​ถ้า​หาก​อะตอม​ที่มา​จับ​คู่​กัน​เกิด​เป็น​พันธะ​โค​เว​เลน​ต์​นั้น​มี​
ค่า​อิ​เล็ก​โทร​เน​กา​ทิวิ​ตี​ไม่​แตก​ต่าง​กันหรือ​แตก​ต่าง​กัน​ไม่​มาก การ​แสดง​ความ​เป็น​ขั้ว​ของ​พันธะ​นั้น​ก็​จะ​ไม่มี​หรือ​
มีน​ ้อยม​ าก
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24