Page 21 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 21
เคมีอินทรีย์ 3-9
ภาพท ี่ 3.3 การเกิดแรงแ วนเดอร์วาลส ์ระหวา่ งอ ะตอม
2.2.2 พนั ธะไฮโดรเจน (hydrogen bond) เปน็ พ นั ธะท เี่ กดิ จ ากแ รงดงึ ดดู ร ะหวา่ งไฮโดรเจนก บั อ เิ ลก็ ตรอน
คู่อ ิสระข องอ อกซิเจน ฟลูออรีน หรือไนโตรเจนข องอีกโมเลกุลห นึ่ง พันธะไฮโดรเจนด ังก ล่าวจ ะเกิดข ึ้นเมื่อไฮโดรเจน
เกิดพ ันธะโคเวเลนต ์ก ับอ ะตอมที่ม ีค่าอิเล็กโทรเนกาท ิวิตีสูงกว่า เช่น ออกซิเจน ฟลูออรีน ไนโตรเจน จะได้พันธะท ี่มี
ขั้วสูง ทำ�ให้ไฮโดรเจนแสดงความเป็นประจุบวก ( ) ในขณะที่อ อกซิเจน ฟลูออรีน หรือไนโตรเจนแสดงความเป็น
ประจุลบ ( ) จึงเกิดแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของตำ�แหน่งที่มีความเป็นประจุต่างกัน พันธะไฮโดรเจนเป็นพันธะที่
ไม่ถ าวร แต่เป็นพ ันธะที่มีแรงดึงดูดแ ข็งแ รงมาก
ภาพท่ี 3.4 พนั ธะไฮโดรเจนร ะหวา่ งโมเลกุลข องน้ํา
พันธะไฮโดรเจนส ่งผ ลต ่อส มบัตบิ างป ระการข องโมเลกุล เช่น จุดเดือด พิจารณาด สู ารประกอบอ ินทรีย์
ที่ม ีส ูตรโครงสร้างเป็น R—OH
หาก R เป็น H เกิดเป็นส ารประกอบ H—O—H หรือน ํ้า
R เป็น CH3 เกิดเป็นสารประกอบ CH3—O—H หรือเมทิลแอลกอฮอล์
R เป็น C2H5 เกิดเป็นส ารประกอบ C2H5—O—H หรือเอทิลแอลกอฮอล์
R เป็น C3H3 เกิดเป็นสารประกอบ C3H7—O—H หรือโพรพิลแอลกอฮอล์