Page 49 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 49

พอลิเมอร์ 7-37

ไม่​เปลี่ยนแปลงจ​ น​กระทั่ง​นํ้า​แข็ง​ละลาย​กลาย​เป็น​นํ้า​หมด ซึ่ง​ถ้า​ให้​ความ​ร้อน​ต่อ​ไป นํ้า​จะ​มี​อุณหภูมิส​ ูง​ขึ้น​จน​กระทั่ง​
กลาย​เป็น​ไอ ขณะ​ที่​นํ้า​กลาย​เป็น​ไอ อุณหภูมิ​ก็​จะ​มี​ค่า​คงที่​จน​กระทั่ง​นํ้า​กลาย​เป็น​ไอ​ทั้งหมด ลักษณะ​ของ​การ​เปลี่ยน​
สถานะ​ดัง​กล่าว​ข้าง​ต้น​เป็น​ลักษณะ​ของ​สารประกอบ​โมเลกุล​เล็ก​ที่​มี​โครงสร้าง​ไม่​ซับ​ซ้อน สาร​เหล่า​นี้​มี​สถานะ​ที่​เป็น​
ได้​ทั้ง​ของแข็ง ของเหลว และ​ก๊าซ การ​เปลี่ยน​สถานะ​เกิด​ขึ้น​ฉับ​พลัน​และ​มี​อุณหภูมิ​ขณะ​เปลี่ยน​สถานะ​อย่าง​ชัดเจน​
ดัง​ภาพ​ที่ 7.19 ก. ส่วน​พอลิเมอร์​ซึ่ง​เป็น​สาร​โมเลกุล​ใหญ่​และ​มี​โครงสร้าง​ซับ​ซ้อน​จะ​มี​การ​เปลี่ยนแปลง​ที่​แตก​ต่าง​
จาก​สาร​โมเลกุล​เล็ก กล่าว​คือ​จะ​ไม่​ปรากฏ​สถานะ​ก๊าซ จาก​การ​ทดลอง​พบ​ว่า ณ อุณหภูมิ​สูง​ระดับ​ที่​ทำ�ให้​สลาย​ตัว
(decompose temperature) พอ​ลิ​เม​อร์​จะ​เกิด​การ​สลาย​ตัว​ก่อน​เกิด​จุดเดือด ส่วน​อุณหภูมิ​การ​เปลี่ยน​สถานะ​ของ​
พอล​ ิเ​ม​อร์จ​ ะ​มีช​ ่วงก​ ว้าง​และไ​ม่ช​ ัดเจน​ดัง​ภาพท​ ี่ 7.19 ข. ทั้งนี้​เนื่องจากส​ าเหตุห​ ลายป​ ระการท​ ี่ส​ ำ�คัญ ได้แก่ พอล​ ิ​เมอ​ ร์​
เป็นส​ ารพ​ อ​ลิดิ​ส​เพิร์สป​ ระกอบด​ ้วยส​ าย​โมเลกุล​สั้นแ​ ละ​ยาว​ปะปนก​ ัน มี​แรง​เชื่อม​แน่น (cohesive force) ที่ย​ ึดเ​หนี่ยว​
ระหว่างก​ ลุ่มอ​ ะตอมแ​ ละร​ ะหว่างส​ ายพ​ อล​ ิเ​มอ​ ร์ต​ ลอดส​ าย เมื่อพ​ อล​ ิเ​มอ​ ร์ไ​ด้ร​ ับค​ วามร​ ้อนเ​พื่อเ​ปลี่ยนส​ ถานะน​ ั้นจ​ ะต​ ้อง​
ใช้ค​ วามร​ ้อนใ​น​การบ​ ิดห​ มุนส​ ายพ​ อล​ ิ​เมอ​ ร์​เพื่อ​ให้​เคลื่อน​ออกจ​ ากก​ ัน ดัง​นั้นอ​ ุณหภูมิก​ ารเ​ปลี่ยนส​ ถานะข​ อง​พอล​ ิเ​ม​อร์​
จึง​ขึ้นอ​ ยู่​กับโ​ครงสร้าง​โมเลกุลร​ วม​ทั้ง​สัดส่วน​ความ​เป็นผ​ ลึก

	 ก. สารโมเลกุลเล็ก	  ข. พอลิเมอร์

ภาพท​ ี่ 7.19 การเ​ปลีย่ น​สถานะ​ของส​ ารโ​มเลกุลเ​ล็กแ​ ละ​พอลเิ มอร​ต์ าม​อุณหภูม​ทิ ี่เ​พ่ิมข​ น้ึ

       จากโ​ครงสร้างข​ อง​พอ​ลิเ​ม​อร์​ดังก​ ล่าว อุณหภูมิก​ ารเ​ปลี่ยน​สถานะท​ ี่​สำ�คัญ​ของ​พอล​ ิ​เมอ​ ร์​มี 2 ชนิด คือ
       4.1		อุณหภูมิส​ ภาพแ​ ก้ว (glass transition temperature, Tg) หมายถ​ ึง อุณหภูมิท​ ี่​พอล​ ิ​มอร์​เปลี่ยนส​ ถานะ​
ระหว่าง​สถานะ​ของแข็ง​กับ​สถานะ​อ่อน​นุ่ม​คล้าย​ยาง (rubbery state) อุณหภูมิ​สภาพ​แก้ว​เป็น​สมบัติ​เฉพาะ​ของ​
โครงสร้าง​แบ​บอ​สัณฐาน พอลิเมอร์​แต่ละ​ชนิด​จะ​มี​ค่า​อุณหภูมิ​สภาพ​แก้ว​แตก​ต่าง​กัน​ซึ่ง​สามารถ​ทำ�นาย​ลักษณะ​และ​
สามารถ​เลือกใ​ช้​งาน​พอลิเมอร์จ​ าก​ค่า​ของ​อุณหภูมิ​สภาพ​แก้ว​ได้ เช่น พอ​ลิเ​อทิลีน​ และ​พอ​ลิ​ส​ไต​รีน มี​อุณหภูมิ​สภาพ​
แก้วป​ ระมาณ -120 องศาเ​ซลเซียส และ 100 องศาเ​ซลเซียส ตาม​ลำ�ดับ ดัง​นั้น ที่​อุณหภูมิป​ กติ​พลาสติกพ​ อล​ ิ​เอทิลี​น​
จึง​มีค​ วามอ​ ่อน​นุ่มม​ ากกว่า​พลาสติกพ​ อ​ลิส​ ​ไต​รีน
       พอล​ เิ​มอ​ รแ์​ บบ​ อส​ ัณฐานน​ ั้นเ​มื่อเ​ป็นข​ องแข็งเ​ต็มท​ ีจ่​ ะม​ ลี​ ักษณะแ​ ข็งเ​ปราะค​ ล้ายแก้ว (glassy state) จากก​ ราฟ​
ความส​ มั พนั ธร์​ ะหวา่ งป​ รมิ าตรจ​ �ำ เพาะข​ องพ​ อล​ เ​ิ มอ​ รก​์ บั อ​ ุณหภูมิ จะเ​ห็นว​ ่าป​ รมิ าตรข​ องพ​ อล​ เ​ิ มอ​ รม์​ หี​ ลายค​ า่ แต่ละค​ ่าจ​ ะ​
เปลี่ยนต​ ามอ​ ุณหภูมิ การ​เปลี่ยน​สถานะ​ระหว่าง​ของแข็ง​คล้ายแก้ว (ช่วง D) และข​ องเหลว (ช่วง AB) จะเ​กิดอ​ ย่าง​ช้าๆ
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54