Page 51 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 51

พอลิเมอร์ 7-39

                              ภาพท​ ่ี 7.21 อณุ หภูมิ​หลอมเหลว​ของพ​ อลิเมอร์

5.	 สมบัติ​ทางว​ ทิ ยา​กระแสข​ อง​พอล​ ิ​เม​อร์

       วิทยา​กระแส (rheology) หมาย​ถึง การ​ศึกษา​พฤติกรรม​การ​ผิด​รูป (deformation) และ​การ​ไหล​ของวัสดุ
เป็นการ​ค้นคว้า​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​แรง​กระทำ�​บน​วัสดุ​และ​การ​ผิด​รูป​ของ​วัสดุ​เมื่อ​ได้​รับ​แรง​กระทำ�​นั้น ส่วน ​
พอ​ลิ​เม​อร์​มี​สมบัติ​เฉพาะ​ด้าน​การ​ไหล​ที่​ไม่​เหมือน​กับ​ของไหล​อื่น สมบัติ​ทาง​วิทยา​กระแส​ที่​สำ�คัญ​ของ​พอ​ลิ​เม​อร์​มี
2 ประการ คือ สมบัติ​หนืด (viscous property) และ​สมบัติว​ ิ​สโ​คอ​ ิ​ลา​สติ​ก (viscoelastic property)

       5.1 	สมบตั ห​ิ นดื ข​ องพ​ อล​ เ​ิ มอ​ ร ์  เปน็ ส​ มบตั ​ทิ เ​ี่ กยี่ วขอ้ ง​กบั ค​ วามห​ นดื ห​ รอื ส​ ภาพห​ นดื (viscosity) ของพ​ อล​ เ​ิ มอ​ ร์
ความ​หนืด​เป็น​ความ​ต้านทาน​การ​ไหล และ​การ​ไหล​หมาย​ถึง​การ​ผิด​รูป​ของ​วัสดุ​เมื่อ​มี​แรง​มาก​ระ​ทำ�  การ​ไหล​หนืด​ที่​
สมบรู ณ์ (pure viscous flow) เกดิ จ​ ากก​ ารท​ โี​่ มเลกลุ ข​ องพ​ อล​ เ​ิ มอ​ รเ​์ คลือ่ นทแี​่ ละเ​ปลีย่ นแปลงร​ ปู ร​ า่ งไ​ปอ​ ยา่ งถ​ าวร มอ​ิ าจ​
ผันก​ ลับไ​ด้ พอล​ ิเ​มอ​ ร์​ที่ม​ ี​โครงสร้าง​เชิง​เส้น​ตรงแ​ ละ​มี​แรงย​ ึด​เหนี่ยว​ระหว่างโ​มเลกุล​ตํ่าจ​ ะแ​ สดงพ​ ฤติกรรมห​ นืด​แบบ​นี้

       จาก​กฎ​ความห​ นืดข​ อง​นิว​ตัน (Newton’s law of viscosity) พบ​ว่า​เมื่อ​พิจารณา​ของไ​หลใ​ดๆ ซึ่ง​อาจเ​ป็นก​ ๊าซ​
หรือ​ของเหลว​ที่ม​ ี​การ​เคลื่อนที่​แบบล​ า​มิ​นาร์ (laminar) ซึ่ง​หมายถ​ ึง​การเ​คลื่อนที่​ของข​ องไหล​ระหว่างช​ ั้น​บางๆ ที่ข​ นาน​
กันโ​ดยม​ ี​การเ​ลื่อนต​ ัว​ออกจ​ ากก​ ันข​ องส​ องช​ ั้น​ที่​อยู่ต​ ิดก​ ัน เช่น เลื่อนต​ ัว​ออกเ​ป็นร​ ะยะ​ทาง x1 ,x2 และ x3 ระหว่าง​ชั้น​
สอง​ชั้น​ที่​ห่าง​เป็น​ระยะ y ด้วย​ความเร็ว v การ​ผิด​รูป​จะ​เกิด​จาก​การ​เอาชนะ​แรง​เสียด​ทาน​ระหว่าง​ผิว​สัมผัส​ของ​ชั้น​ที่​
เลื่อน​ออก​จาก​กัน แรงท​ ี่​กระทำ�​ให้​เคลื่อนที่​แบบล​ าม​ ิน​ าร์น​ ี้เ​รียก​ว่าแ​ รง​เฉือน (shear force หรือ F) ซึ่ง​เป็น​แรง​ที่ข​ นาน​
กับแ​ นวก​ าร​เคลื่อนที่

                        ความเร็ว v

                ภาพ​ที่ 7.22 การ​เคล่อื นที่ข​ องช​ ้นั บ​ าง​ดา้ น​บนด​ ้วย​แรง​เฉือน F ทำ�ให้​แนว AC และ BD
                         เคลื่อนทต​ี่ าม​แนว A′C และ B′D ตาม​ล�ำ ดบั ดว้ ย​ความเร็ว v
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56