Page 50 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 50
7-38 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
ซึ่งร ะหว่างสองส ถานะนี้จะเกิดส ถานะอ ่อนนุ่มค ล้ายย าง (ช่วง C) ขึ้น และช่วงอ ุณหภูมิแคบๆ ที่สถานะแข็งคล้ายแก้ว
กลายเป็นลักษณะอ ่อนนุ่มคล้ายย างเกิดขึ้นนั้นคืออุณหภูมิสภาพแก้ว
ภาพท ่ี 7.20 อณุ หภมู ิส ภาพแก้วข องพ อลิเมอร์
ปัจจัยท่ีมีผลต่ออุณหภูมิสภาพแก้วของพอลิเมอร์ ได้แก่ ความยืดหยุ่นของโซ่ก่ิง (chain flexibility) การ
จัดเรียงตัวของโมเลกุลพอลิเมอร์ (geometric factors) แรงดึงดูดระหว่างสายโซ่โมเลกุล (interchain attractive
forces) การเกิดพ อล ิเมอ ร์ร ่วม (copolymerization) นํ้าห นักโมเลกุล (molecular weight) การเชื่อมข วางแ ละก ิ่งก ้าน
ของส ายโซ่โมเลกุล (cross-linking and branching) ปริมาณผลึก (crytallinity)
4.2 อุณหภูมิหลอมเหลวข องพอล ิเมอ ร์ (melting temperature, Tm หรือ crystalline melting point) หมาย
ถึง อุณหภูมิที่พอล ิเมอร์เปลี่ยนส ถานะร ะหว่างสถานะข องแข็งเป็นสถานะห ลอมเหลว อุณหภูมิหลอมเหลวเป็นส มบัติ
เฉพาะข องพ อลิเมอร์ท ี่มีโครงสร้างแบบผลึก พอลิเมอร์ที่มีค วามเป็นผลึกส ูงจ ะมีอุณหภูมิหลอมเหลวสูง เมื่อให้ค วาม
ร้อนแก่พอลิเมอร์จนกระทั่งอุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้นถึงอุณหภูมิหลอมเหลว ความร้อนจะถูกดูดซับเพื่อใช้ในการทำ�ลาย
ความเป็นผลึก จึงไม่พบการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในช่วงนี้ (ช่วง E ไปยังช่วง B) จนกระทั่งพอลิเมอร์เปลี่ยนเป็น
สถานะห ลอมเหลวแ ละเป็นข องเหลวห นืด (ช่วง B ไปย ังช ่วง A) ในเวลาต ่อม า เมื่ออ ุณหภูมิเพิ่มส ูงข ึ้นม ากกว่าอ ุณหภูมิ
หลอมเหลว
ปจั จยั ท่มี ีผลตอ่ อณุ หภมู ิหลอมเหลวของพอลเิ มอร์ ไดแ้ ก่ พนั ธะระหวา่ งโมเลกลุ (intermolecular bonding)
โครงสร้างโมเลกุล ความยืดหยุ่นของโซ่ก ิ่ง และพ อล ิเมอร์ร่วม นอกจากน ี้ในส ถานะห ลอมเหลว พอลิเมอร์ จะเป็นของ
ไหลห นืดแบบว ิส โคอ ิล าส ติก ซึ่งเป็นการไหลห นืดผ สมย ืดหยุ่น ไม่เกิดก ารไหลอ ย่างอ ิสระเหมือนอ ย่างสารโมเลกุลเล็ก