Page 54 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 54

7-42 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์

             ภาพท​ ี่  7.24  ความ​สัมพนั ธ์ร​ ะหว่างค​ วามเคน้ แ​ ละค​ วามเครยี ด​ของ​วสั ดุ 2  ชนดิ ท​ ่ีร​ ะยะ​เวลา  t1
			                          เมื่อใ​ห้​ความเคน้ และ ทร่ี​ ะยะ​เวลา t2 เม่ือ​หยดุ ​ให้​ความเค้น

       การไ​หลข​ องพ​ อ​ลิเ​มอ​ ร์​ที่เ​ป็นว​ ัส​ดุ​วิ​สโ​คอ​ ิ​ลา​สติก​ นั้​นมัก​เป็นการไ​หลแ​ บบ​ไม่ใ​ช่​นิว​ทอ​เนียน ซึ่ง​จาก​กราฟ​ความ​
สัมพันธ์ร​ ะหว่าง​ความเค้นเ​ฉือนแ​ ละ​อัตราก​ ารเ​ฉือน แสดง​ให้​เห็น​ว่า​มีพ​ ฤติกรรมก​ ารไ​หล​ของ​ของเหลว​หลาย​แบบ อาทิ
พฤติกรรม​การ​ไหล​แบบพ​ ลาสติก​เทียม (pseudoplastic flow) แสดงค​ ่า​ความห​ นืดท​ ี่​ลด​ลง​เมื่ออ​ ัตราเ​ฉือน​เพิ่ม​ขึ้น การ​
ไหลแ​ บบไ​ดล​ าแ​ ทนต​ ์ (dilatant flow) แสดงค​ ่าค​ วามห​ นืดเ​พิม่ ม​ ากข​ ึ้นเ​มือ่ อ​ ตั ราเ​ฉอื นเ​พิ่มข​ ึน้ สว่ นก​ ารไ​หลแ​ บบพ​ ลาสตกิ
บิงแ​ ฮม (Bingham plastic flow) ต้อง​มีค​ ่าค​ วามเค้น​เฉือนอ​ ย่าง​น้อยค​ ่าห​ นึ่ง​ที่ท​ ำ�ให้​ไหลไ​ด้ ค่าน​ ี้เ​รียก​ว่าค​ ่าย​ ีล​ ด์ (yield
value) จาก​นั้นจ​ ะเ​กิดพ​ ฤติกรรม​การไ​หล​แบบ​ นิว​ทอเ​นียน

                             ภาพ​ที่ 7.25 ตวั อยา่ ง​รูป​แบบ​การไ​ หล​ของพ​ อลเิ มอร์

       ปรากฏการณ์​การ​คืบ (creep) เป็น​ลักษณะ​สำ�คัญ​อีก​อย่าง​หนึ่ง​ของ​พอลิเมอร์​ที่​เป็น​วัส​ดุ​วิ​ส​โค​อิ​ลา​สติ​ก
การค​ ืบเ​ป็นป​ รากฏการณก์​ ารเ​ปลี่ยนแปลงร​ ูปร​ ่างห​ รือผ​ ิดร​ ูปข​ องว​ ัสดตุ​ ามร​ ะยะเ​วลาเ​มื่อม​ แี​ รงเ​ค้นค​ ่าห​ นึ่งก​ ระทำ�​ต่อว​ ัสดุ
เมื่อ​มี​แรง​เค้น​กระทำ�​ต่อ​พอลิเมอร์​จะ​เกิด​ความเครียด​ทันที​ทันใด ซึ่ง​เป็น​สมบัติ​อิ​ลา​สติ​ก​ของ​พอ​ลิ​เม​อร์​ที่​เวลา​เริ่ม​ต้น
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59