Page 55 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 55
พอลิเมอร์ 7-43
(ขtอ0)งกแาลระคเกืบิดจกาากรนผ ั้นิดพร ูอปล ติเม่ออมรา์เทกี่ริดะกยาะรเไวหลลานเมาื่อนปขลึ้น่อ(ยtxใ)หค้เววลาามผเค่านรไียปดซจึ่งะมเพักิ่จมะขเึ้นปต็นากมารระไยหะลเแวบลบา ไแมล่ใะชแ่นสิวดทงอปเนราียกนฏการณ์
ก.
ข.
ภาพท ี่ 7.26 ก. การค บื ของพอลเิ มอรท์ ยี่ ังไมเ่กิดการค บื ณ เวลาเร่มิ ตน้ t0
ข. กราฟก ารเปล่ียนแปลงค วามเครียดกบั เวลา
6. แรงต งึ ผ ิว
แรงตึงผิวเป็นสมบัติบนผิวหน้าของของเหลว หมายถึง ผลลัพธ์ของแรงที่กระทำ�บนโมเลกุลที่ผิวของเหลว
เนื่องจากแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลบนผิวของเหลวตรงบริเวณผิวร่วม (interface) หรือตรงบริเวณรอยต่อระหว่าง
ผวิ ห นา้ ข องเหลวก บั บ รรยากาศซ ึง่ เปน็ บ รเิ วณม แี รงดงึ ดดู จ ากโมเลกลุ ข า้ งเคยี งไมเ่ ทา่ ก นั ท กุ ด า้ น คอื ดา้ นบ นผ วิ ข องเหลว
ไม่มีแรงมากระทำ� โมเลกุลที่ผิวจึงเกิดแรงดึงดูดที่ไม่สมดุลกัน ในขณะที่โมเลกุลที่อยู่ภายในของเหลวมีแรงดึงดูด
จากโมเลกุลข้างเคียงเท่ากันหมดทุกด้าน แรงดึงดูดร ะหว่างโมเลกุลภายในของสารชนิดเดียวกันนี้เรียกว่า แรงเชื่อม
แน่น (cohesion) สารท ี่มีแ รงดึงดูดร ะหว่างโมเลกุลม ากกว่าจะม ีแ รงต ึงผ ิวส ูง ปัจจัยท ี่มีผ ลให้แ รงดึงดูดลดล งก ็จะส ่ง
ผลให้แรงตึงผิวลดลงด้วย เช่น เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ทำ�ให้โมเลกุลสั่นและแยกกันมากขึ้น แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล
จึงลดล ง ทำ�ให้แ รงตึงผิวล ดล ง นอกจากนี้โมเลกุลอ ื่นท ี่แ ทรกปะปนอ ยู่ในเนื้อส ารก ็มีผลลดแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล
เช่นก ัน โดยเฉพาะอ ย่างย ิ่งโมเลกุลข องส ารท ี่เรียกว่าส ารล ดแรงตึงผิว (surfactant) เป็นต้น ดังนั้นการว ัดหาแรงต ึง
ผิวข องสารใดๆ จึงควรเตรียมสารท ี่ต ้องการว ัดให้บริสุทธิ์ม ากท ี่สุดป ราศจากก ารเจือปนของส ารอ ื่น จึงจ ะได้ค่าแรงต ึง
ผิวท ี่แท้จริง สำ�หรับค ่าแรงต ึงผ ิวข องพ อล ิเมอร์ โดยปกติมีค่าอยู่ที่ร ะหว่าง 20-50 มิลลิน ิวตันต ่อเมตร ซึ่งมีค่าน ้อยกว่า
ค ่าแรงต ึงผิวของน ํ้าและปรอท