Page 53 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 53

พอลิเมอร์ 7-41

		 ภาพ​ท่ี 7.23 กขx1กก,าารxรไ​2ไ​หหแลลล​แะ​แบบxบบ​3​ไตนมาวิ ใ​่มท​ช​ลอ​น่ �ำ เ​ิวดน​ทับียอน​เนมีย​ีคนวซ​ามงึ่ ​ชม​ ัน​คี วข​ าอมงห​​เสนน้ ดื ​ตเรทง่าหกบัรือηค1ว,าηม2​หแนลดื ะเηทา่3กบับนη​ค0วาม​ชนั ​ของ​โค้งท​ ​ี่อตั ราเ​ฉอื น
       5.2		สมบตั ​วิ ​สิ ​โค​อ​ลิ า​สต​กิ ​ของ​พอ​ล​เิ ม​อร ์  เปน็ ​สมบตั ข​ิ องพ​ อ​ล​เิ ม​อร​ท์ ​ม่ี ​ลี กั ษณะผ​ สม​ทง้ั ​แบบ​ยดื หยนุ่ (elasticity)

ของข​ องแขง็ ย​ ดื หยุ่นแ​ ละแ​ บบไ​หลห​ นืดข​ องข​ องเหลวห​ นดื โดยแ​ สดงส​ มบตั ริ​ ะหว่างข​ องแขง็ ย​ ดื หยุน่ แ​ บบอ​ ุดมคติ (ideal
solid) ทีต่​ อบส​ นองต​ ่อแ​ รงก​ ระทำ�​และก​ ลับค​ ืนร​ ูปเ​หมือนเ​ดิมท​ ันทเี​มื่อห​ ยุดใ​หแ้​ รง และข​ องไหลห​ นืดแ​ บบส​ มบูรณท์​ ีไ่​หล​
หรือ​ผิด​รูป​เมื่อ​มี​แรง​กระทำ�​และ​ไม่มี​การ​คืน​รูป​เมื่อ​หยุด​ให้​แรง​เค้น สมบัติ​วิ​ส​โค​อิ​ลา​สติ​ก​เป็น​สมบัติ​ที่​ขึ้น​อยู่​กับ​เวลา
เช่น เมื่อ​มี​แรง​เค้น​กระทำ�​บน​วัสดุ​เป็น​ระยะ​เวลา​นาน วัสดุ​นั้น​อาจ​มี​การ​ผิด​รูป​แบบ​ถาวร แต่​วัสดุ​นั้น​สามารถ​กลับ​คืน​
รูป​ได้​ถ้า​ได้​รับ​แรง​เค้น​เพียง​เล็ก​น้อยห​รือ​ได้​รับ​แรง​เค้น​ใน​ระยะ​เวลา​อัน​สั้น การ​คืน​รูป​ของ​วัส​ดุ​วิ​ส​โค​อิ​ลา​สติ​ก​เกิด​ขึ้น​
หลังจ​ ากห​ ยุด​ให้แ​ รงเ​ค้น แต่พ​ อล​ ิ​เมอ​ ร์​จะค​ ืน​รูปไ​ม่ส​ มบ​ ูรณ์พ​ ราะย​ ัง​มี​การผ​ ิดร​ ูปถ​ าวร​เกิด​ขึ้น​เป็นบ​ างส​ ่วนแ​ ละย​ ัง​ขึ้น​กับ​
ระยะเ​วลาท​ ี่ไ​ด้​รับแ​ รง​เค้น

       เมื่อเ​ปรียบ​เทียบ​เส้น​โค้งข​ องค​ วามเค้น (stress) และค​ วามเครียด (strain) ระหว่าง​วัสดุย​ ืดหยุ่น​แบบ​อุดมคติ​
กับพ​ อล​ ิเ​ม​อร์​วิ​สโ​ค​อิล​ า​สติก​ ​เมื่อใ​ห้แ​ ละผ​ ่อนห​ รือ​หยุด​ให้​ความเค้น พบ​ว่า พอ​ลิเ​มอ​ ร์​วิส​ ​โคอ​ ิ​ลาส​ ติ​กแ​ สดง​วงฮ​ ิสเ​ทอ​ รีซ​ ิส
หรือ​ฮิส​เท​อรี​ซิ​สลูป (hysteresis loop) ซึ่ง​ไม่​แสดง​ความ​สัมพันธ์​เชิง​เส้น​เหมือน​ของ​วัสดุ​วัสดุ​ยืดหยุ่น​แบบ​อุดมคติ
พอล​ เ​ิ มอ​ รท​์ มี​่ โ​ี คร​ งส​ รา้ งอ​ ส​ ณั ฐานจ​ ะแ​ สดงพ​ ฤตกิ รรมแ​ บบว​ ส​ิ โ​คอ​ ล​ิ าส​ ตก​ิ ดงั ก​ ลา่ ว เนือ่ งจากเ​มือ่ พ​ อล​ เ​ิ มอ​ รไ​์ ดร​้ บั ค​ วามเคน้ ​
แล้ว สาย​โซ่​ของ​โมเลกุล​พอ​ลิ​เม​อร์​มี​การ​เปลี่ยน​ตำ�แหน่ง​หรือ​เคลื่อนที่ จึง​เกิด​การ​จัด​เรียง​ตัว​ของ​สาย​พอ​ลิ​เม​อร์​ใน​
โมเลกุล​เพื่อ​ให้​กลับ​เข้า​สู่​โครงสร้าง​สมดุล​อีก​ครั้ง มี​ผล​ทำ�ให้​พลังงาน​ที่​เกิด​ขึ้น​ก่อน​และ​หลัง​การ​ให้​แรง​เค้น​ไม่​เท่า​กัน​
จึงเ​กิด​ปรากฏการณ์ข​ อง​วง​ฮิส​เท​อรี​ซิสข​ ึ้น​ดัง​กล่าว
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58