Page 21 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 21
เครื่องมือการวิจัยและการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจัย 5-11
ตัวอย่างแบบบันทึกการวิเคราะห์เนื้อหาสารานุกรมสำ�หรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยูห่ ัว
สารานกุ รมสำ�หรบั เยาวชนฯ เล่มที่
������������������������������������������������������������������������������������������������������������������
เรื่อง...............................................................................................................................................................
หน้า................................................................................................................................................................
เนื้อหาสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ..............................................................................
สาระการเรียนรู้ที่ ...............เรื่อง......................................................................................................................
(........) 1 ..................................................................................................................................................
(........) 2 ..................................................................................................................................................
(........) 3 ..................................................................................................................................................
(........) 4 ..................................................................................................................................................
(........) 5 ..................................................................................................................................................
(........) 6 ..................................................................................................................................................
(........) 7 ..................................................................................................................................................
(........) 8 ..................................................................................................................................................
2.1.4 แบบสังเกต การสังเกตเป็นวิธีหนึ่งในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัย การสังเกตแบ่งได้ 2
ประเภท คือ การสังเกตแบบมีส่วนร่วม และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม
1) การสงั เกตแบบมีสว่ นร่วม (participant observation) คือการที่ผู้สังเกตเข้าไปร่วมอยู่กับกลุ่ม
ตวั อยา่ งเปา้ หมาย สว่ นระดบั การเขา้ ไปรว่ มนัน้ อาจเปน็ ระดบั ผูส้ งั เกตการณ์ (อยูห่ า่ งๆ) ระดบั ผูเ้ ขา้ รว่ มฟงั (ใกลช้ ดิ กลุม่
มากขึ้น) และระดับผู้เข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรม (เข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มคนหนึ่ง)
2) การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (non-participant observation) คือการสังเกตที่ผู้สังเกตจะไม่
ให้ผู้ถูกสังเกตรู้ตัว ผู้สังเกตจะอยู่ห่างๆ จากกลุ่มตัวอย่างที่จะสังเกต ทำ�ทีไม่ได้สนใจบุคคลหรือกลุ่มที่ตนไปสังเกต
ในการวิจัยเชิงทดลองบางกรณีจะใช้การสังเกตในห้องที่มีกระจกกั้นโดยผู้สังเกตมองเห็นผู้ถูกสังเกต แต่ผู้ถูกสังเกต
จะมองไม่เห็นผู้สังเกต
ในการสังเกตจะต้องมี “แบบสังเกต” เพื่อใช้บันทึกผลจากการสังเกต ซึ่งแบบสังเกตจะแบ่งเป็นแบบ
สังเกตแบบมีโครงสร้าง และแบบสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง
1) แบบสังเกตแบบมีโครงสร้าง (structured observation) เป็นแบบสังเกตที่มีหัวข้อหรือ
ประเด็นต่างๆ กำ�หนดไว้เพื่อให้มีการสังเกตไปตามประเด็นเหล่านั้น การใช้แบบสังเกตแบบมีโครงสร้างเป็นวิธีการ
เก็บข้อมูลโดยตรงจากกลุ่มตัวอย่าง ใช้ได้ดีโดยเฉพาะพฤติกรรมการแสดงออกของบุคคลหรือสัตว์ทดลองหรือสัตว์
ในธรรมชาติ แต่ก็อาจเหมาะสมกับสภาวการณ์บางอย่างที่เกิดขึ้นในขณะนั้น พฤติกรรมการแสดงที่สังเกตได้ต้อง
ตีความในกรอบที่สังเกตเห็นเท่านั้น การใช้การสังเกตนั้นบางทีเสียเวลาและเสียค่าใช้จ่ายมาก เช่น สังเกตพฤติกรรม
การให้บริการสารสนเทศของนักเอกสารสนเทศ ผู้สังเกตอาจเฝ้าดูว่าผู้ให้บริการจะมีพฤติกรรมอย่างไร แต่รออยู่นาน
ไมม่ ผี ูร้ บั บรกิ ารเขา้ ไปขอความชว่ ยเหลอื ผูส้ งั เกตรอนานจนตอ้ งการไปท�ำ ธรุ ะสว่ นตวั ในหอ้ งนํา้ แตพ่ อออกมาจะสงั เกต