Page 23 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 23
เครื่องมือการวิจัยและการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจัย 5-13
กจิ กรรม 5.1.1
1. เครื่องมอื การวิจยั ท่ีเป็นแบบสอบถามมีลกั ษณะอยา่ งไร ใชส้ �ำ หรบั การวจิ ัยแบบใด จงอธิบาย
2. เครื่องมือการวิจัยที่เป็นแบบสังเกตแบบมีโครงสร้างมีลักษณะอย่างไร ใช้สำ�หรับการวิจัยแบบใด
จงอธิบาย
แนวตอบกิจกรรม 5.1.1
1. เครอ่ื งมอื การวจิ ยั ทเี่ ปน็ แบบสอบถามมลี กั ษณะเปน็ รายการขอ้ ค�ำ ถามตา่ งๆ ใหผ้ ตู้ อบตอบในลกั ษณะ
เตมิ ค�ำ เลอื กตอบ หรอื แบบมาตรประมาณคา่ ใชส้ �ำ หรบั การวจิ ยั เชงิ ส�ำ รวจ ทเี่ ปน็ การสอบถามความคดิ เหน็ ความ
พึงพอใจ หรือการวดั ความรู้สึกของบคุ คล
2. เคร่ืองมือการวิจัยท่ีเป็นแบบสังเกตแบบมีโครงสร้างมีลักษณะเป็นรายการต่างๆ ท่ีผู้วิจัยต้องการ
สังเกต แล้วมีการบันทึกว่าเป็นอย่างไร เช่น มี ไม่มี ปฏิบัติ ไม่ปฏิบัติ ถา้ ปฏิบัติใช้เวลานานเท่าใด ทั้งนี้แล้วแต่
วัตถุประสงคข์ องการสังเกตว่าตอ้ งการสงั เกตอะไร อยา่ งไร นิยมใช้ในการวจิ ยั เชิงทดลอง
เร่ืองท่ี 5.1.2
การสร้างเครือ่ งมือการวจิ ัย
1. ลักษณะของเครื่องมือการวิจัยที่ดี
กอ่ นทีจ่ ะสรา้ งเครือ่ งมอื การวจิ ยั ผูว้ จิ ยั ควรทราบกอ่ นวา่ เครือ่ งมอื การวจิ ยั ทีด่ นี ัน้ ตอ้ งมลี กั ษณะทีด่ ี 3 ประการ
คือ มีความตรง มีความเที่ยง และมีความเป็นปรนัย
1.1 มีความตรง (validity) คือเครื่องมือนั้นสามารถวัดได้ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ เช่น เครื่องชั่ง
นํ้าหนัก หากนำ�คนที่มีนํ้าหนัก 60 กิโลกรัม มาชั่ง เครื่องชั่งนั้นแสดงนํ้าหนักเป็น 60 กิโลกรัม เมื่อนำ�บุคคลอื่นที่
หนัก 60 กิโลกรัม มาชั่งเครื่องชั่งจะบอกนํ้าหนักเป็น 60 กิโลกรัมอีกเช่นกัน เช่นนี้เรียกว่าเครื่องชั่งนั้นมีความตรง
ถ้าเป็นเครื่องมือวิจัย เช่น เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศโดยใช้โอแพ็กของ
นักศึกษาปริญญาตรี ต้องสร้างเครื่องมือที่สร้างเสร็จแล้วเมื่อนำ�ไปวัดสามารถวัดผลสัมฤทธิ์การสืบค้นดังกล่าวได้
จรงิ ๆ มใิ ชเ่ ครือ่ งมอื นัน้ วดั ออกมาเปน็ การวดั ความสามารถในการสบื คน้ สารสนเทศบนอนิ เทอรเ์ นต็ ถา้ เปน็ เชน่ นัน้ ถอื วา่
เครื่องมือวิจัยไม่มีความตรง
ความตรงของเครื่องมอื การวจิ ยั ยงั มีขอ้ ปลกี ย่อยที่ควรคำ�นงึ อีก 2 ประการคอื ความตรงเชิงเนือ้ หา ความตรง
เชิงโครงสร้าง
1.1.1 ความตรงเชงิ เนอ้ื หา (content validity) หมายถึงความสอดคลอ้ งของเนื้อหาในเครือ่ งมือกับสาระที่
ต้องการศกึ ษา เชน่ การวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นการสบื คน้ ทรัพยากรสารสนเทศโดยใชโ้ อแพก็ สาระส�ำ คัญประกอบ
ด้วย ความหมายและการใช้เมนูคำ�สั่งต่างๆ ในโอแพ็ก การใช้ช่องทางในการสืบค้นโอแพ็ก (ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง หัวเรื่อง
คำ�สำ�คัญ) การใช้ตรรกะแบบบูลในการค้นเพื่อให้ได้ผลการค้นที่แคบลง การอ่านผลและแปลผลจากหน้าจอที่ค้นพบ
เนื้อหาในเครื่องมือจะต้องมีการวัดให้ครอบคลุมสาระสำ�คัญที่กล่าวมาแล้วให้ครบถ้วน