Page 32 - เทคโนโลยีมัลติมีเดีย
P. 32

14-22 เทคโนโลยีม​ ัลติมีเดีย

เรื่อง​ท่ี 14.1.2
การพ​ ฒั นาส่อื ม​ ลั ติมีเดียส​ �ำ หรับก​ ารเ​รยี นก​ าร​สอนน​ าฏศลิ ป​ไ์ ทย

       สื่อ​การ​เรียน​การ​สอน​ที่​ใช้​สำ�หรับ​การ​เต้นรำ�​นั้น​มี​แตก​ต่าง​กัน​ไป เช่น การ​ใช้​รูปภาพ การ​ใช้​วีดิทัศน์ เป็นต้น
สื่อ​การ​เรียน​การ​สอน​ใน​ต่าง​ประเทศ​  โดย​เฉพาะ​ประเทศ​ตะวัน​ตก​นิยม​ใช้​โน้ต​การ​เต้นรำ�  (dance notation) ใน​
การ​ถ่ายทอด​และ​บันทึก​ท่า​เต้นรำ� หนึ่ง​ใน​ระบบ​โน้ต​การ​เต้นรำ�​ที่​ได้​รับ​ความ​นิยม​มาก​ที่สุด​คือ ​ระบบ​ลา​บาน​โน​เท​ชัน
(Labanotation) หรือ​เรียก​สั้น ๆ ว่า​ ระบบ​ลาบ​ าน การพ​ ัฒนา​มัลติมีเดียส​ ำ�หรับก​ าร​เรียนก​ าร​สอนน​ าฏศิลป์​ไทยด​ ้วย​
ใช้​หลัก​ของล​ า​บานโ​น​เท​ชันเ​ริ่มต​ ั้งแต่ก​ ารท​ ำ�ความร​ ู้จัก​กับ​ทฤษฎีก​ ารเ​คลื่อนไหวร​ ่างกาย วิธีก​ ารบ​ ันทึกท​ ่า​รำ�​ท่า​เต้น​ของ​
ระบบล​ าบ​ าน วิธี​การ​สร้าง​แอนิเมชัน​จาก​โน้ต​ลาบ​ าน และว​ ิธีอ​ อกแบบ​โครงสร้าง​มือ​สำ�หรับร​ ำ�​ไทย

1. 	ทฤษฎกี​ ารเ​คลอ่ื นไหว​ร่างกาย

       การเ​คลื่อนไหว​ของร​ ่างกาย ต้องอ​ าศัย​องค์ป​ ระกอบท​ ี่เ​ป็น​ส่วน​สำ�คัญ 4 ประการ คือ
       1.1 	สว่ น​ของ​รา่ งกาย (body part) หมายถ​ ึง​ การพ​ ิจารณาว​ ่า อวัยวะส​ ่วน​ใด​บ้าง​ของร​ ่างกาย​ที่​เคลื่อนไหว
       1.2 	อากาศว​ ิถี (space) หมายถ​ ึง ก​ ารเ​คลื่อนไหว​อวัยวะไ​ป​ใน​พื้นที่​ว่าง​หรือบ​ น​เวที โดย​การพ​ ิจารณา​ว่าอ​ วัยวะ​
ที่​เคลื่อนไหว​นั้น ไป​ใน​ทิศทาง​ใด ระดับ​สูง​ตํ่า​เพียง​ใด เพราะ​การ​เคลื่อนไหว​ของ​อวัยวะ​นั้น ดำ�เนิน​ไป​ใน​อากาศ​ที่​อยู่​
รอบ ๆ ตัว​เรา ซึ่ง​มีอ​ งค์ป​ ระกอบย​ ่อยท​ ี่​เกี่ยวข้องค​ ือ อ​ ากาศว​ ิถี หมายถ​ ึง การ​เคลื่อนไหว​อวัยวะไ​ปบ​ นพ​ ื้นที่​ว่างห​ รือ​เวที
ซึ่ง​มี​องค์​ประกอบย​ ่อย​ที่​เกี่ยวข้อง คือ

            1) 	ทศิ ทาง (direction) หมาย​ถึง​ การ​เคลื่อนไหว​อวัยวะไ​ป​ข้างห​ น้า ข้างห​ ลัง ข้าง ๆ เฉียง ๆ หมุนก​ ลับ
หมุน​เข้า หมุน​ออก หมุนข​ ึ้น หรือห​ มุน​ลง ฯลฯ

            2)	 มติ ิ (dimension) หมายถ​ ึง ข​ นาดห​ รือร​ ะยะข​ องก​ ารเ​คลื่อนไหวแ​ ละก​ ารจ​ ัดว​ างร​ ่างกาย เช่น การส​ ร้าง​
ท่าทางท​ ี่​แสดงถ​ ึงค​ วาม​กว้าง ความ​ใหญ่ ความแ​ คบ ความ​สูง ความล​ ึก การ​ห่อตัว​ให้เ​ล็ก การ​เคลื่อนที่​ใน​พื้นที่แ​ คบ ๆ
การ​ยืด​ตัว​สูง การกร​ ะ​โดด การข​ ยายต​ ัวใ​ห้ใ​หญ่ หรือ​การเ​คลื่อนที่ไ​ป​ในพ​ ื้นที่ก​ ว้าง ๆ

            3)	 ระดบั (level) หมาย​ถึง ​ระดับข​ อง​ความส​ ูงต​ ํ่า​ของอ​ วัยวะท​ ี่เ​คลื่อนไหว และก​ าร​จัด​วาง​ตำ�แหน่ง​ของ​
ร่างกาย เช่น แนวร​ าบ คุกเข่า ย่อ​ตัว ยืน​ตรง ยืด​ตัวแ​ ละก​ ระโดด เป็นต้น

       1.3 	เวลาห​ รอื จ​ งั หวะ (time) หมายถ​ ึง  เวลาท​ ีอ่​ วัยวะน​ ั้น ๆ เคลื่อนที่ไ​ป ซึ่งเ​ป็นการ​พิจารณาค​ วามม​ ากน​ ้อยข​ อง​
จังหวะ อาจ​กล่าวไ​ด้​ว่าการเ​คลื่อนไหว​เป็นง​ านศ​ ิลปะท​ ี่ก​ ิน​ระวาง​พื้นที่ใ​นอ​ ากาศ​ในช​ ่วงร​ ะยะเ​วลาห​ นึ่ง ๆ มี​องค์ป​ ระกอบ​
ย่อย​ที่​เกี่ยวข้อง คือ จังหวะ (tempo) หมาย​ถึง การเ​คลื่อนที่ข​ อง​อวัยวะ​ที่แ​ ตกต​ ่าง​กัน​ใน​อัตราค​ วามเร็ว ช้า ปานก​ ลาง
การ​เปลี่ยนจ​ ังหวะเ​ปรียบเ​สมือน​อัตรา​เร่ง​ใน​ดนตรี (retardation acceleration)

       1.4 	รูป​แบบ (style) หมาย​ถึง ​การ​พิจารณา​ลักษณะ​ของ​การ​เคลื่อนไหว​ของ​อวัยวะ​ว่า​เป็น​อย่างไร เช่น
เชื่องช​ ้า นุ่ม​นวล คึกคักห​ รือฉ​ วัดเฉวียน เป็นต้น

2. 	วิธีก​ ารบ​ นั ทึก​ท่า​ร�ำ ​ท่า​เตน้ ​ของ​ระบบล​ า​บาน

       ระบบ​ของ​ลา​บาน คือ โน้ต​สากล​ใน​การ​บันทึก​การ​เคลื่อนไหว​ของ​ร่าง​ด้วย​สัญลักษณ์ ใน​ลักษณะ​เดียว​กับ
​โน้ต​ดนตรี​ระบบ​ลา​บาน​ใช้เ​ส้น (staff) ในก​ าร​บันทึก​ตัวโ​น้ต ระบบ​ลาบ​ านน​ ั้น​จะอ​ ่านจ​ าก​ล่างข​ ึ้น​บน ​ดังท​ ี่​แสดง​ในภาพ​
ด้าน​ล่าง
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37