Page 55 - เทคโนโลยีมัลติมีเดีย
P. 55

การป​ ระยุกต์​กับง​ าน​มัลติมีเดีย​ใน​ด้านก​ ารศ​ ึกษา 14-45

       สำ�หรับส​ ถานการณ์​ที่​เกิด​ขึ้น ตัวอย่างท​ ี่​หนึ่ง​เมื่อเ​กิด​ควันไ​ฟใ​นห​ ้อง​ปฏิบัติก​ ารใ​กล้ส​ ำ�นักงานข​ อง​ผู้​เล่น ผู้เ​ล่น​
จะต​ ้องต​ ัดสิน​ใจ​ในก​ ารเ​ปิดส​ ัญญาณ​เตือน​ไฟไ​หม้ต​ ามค​ วามเ​หมาะ​สม ตัวอย่าง​ที่​สองเ​มื่อไ​ด้ยินเ​สียง​สัญญาณ​เตือน​ภัย​
มี​ควัน​เข้า​มาใ​น​ออฟ​ฟิตข​ อง​ผู้​เล่น ผู้​เล่นค​ วร​ตัดสิน​ใจ​เปิด​เสียง​เตือน​และ​อพยพ​จากอ​ าคาร

       3.3	 เกม​ฝึก​ทักษะ​การ​จัดการ​ไฟ​ใน​ห้อง​ครัวโดย​ใช้​โปร​แก​รม​เบลซ เกม​ที่​มี​จุด​มุ่ง​หมาย​เพื่อ​เสริม​สร้าง​ความ​
ปลอดภัย​จาก​อัคคี​ภัย​ใน​ครัว​เรือน ให้​ความ​รู้​เกี่ยว​กับ​ขั้น​ตอน​ที่​จะ​ปฏิบัติ​ตาม​ใน​กรณี​เกิด​ไฟ​ลุก​บน​เตาไฟ​ระหว่าง​
ปรุง​อาหาร และ​ยัง​ให้​ความ​สนุกสนาน​และ​การ​มี​ส่วน​ร่วม​ใน​ลักษณะ​แบบ​โต้ตอบ การ​ออกแบบ​เกม​ใช้​ออ​โต้​เด็ก​มายา
(Autodesk Maya) โดย​พื้น​ผิว​ทำ�​ด้วย​โปร​แก​รมอะ​โดบีโฟ​โต​ชอป (Adobe Photoshop) และ​เครื่อง​มือ​พัฒนา​เกม​
เบลซ (Blaze) ซึ่ง​เป็น​เกม​ไว้​สำ�หรับ​ครัว​และ​สร้าง​สถานการณ์​การ​เกิด​ไฟ​ลุก​ไหม้​ขณะ​ทำ�ครัว ขั้น​ตอน​ใน​การ​พัฒนา
เ​กมน​ ั้น​มีผ​ ู้เ​ชี่ยวชาญด​ ้าน​ความป​ ลอดภัยจ​ ากไ​ฟเ​ทศบาล​เป็นผ​ ู้​ให้ค​ ำ�​ปรึกษา

       3.4 	เกม​ฝึก​อบรม​การ​ก่อสร้าง​โดย​ใช้​โปรแกรม​ยูนิต้ี 3 มิติ ใน​สถานท​ ี่ก​ ่อสร้างส​ ิ่งส​ ำ�คัญค​ ือ​การใ​ห้​ความร​ ู้​และ​
การ​อบรม​คน​งานแ​ ละ​พนักงานเ​พื่อ​ให้ส​ ามารถร​ ะบุ​ของอ​ ันตราย​และ​การจ​ ัดการ​อันตราย การค​ วบคุมเ​พื่อ​ป้องกันไ​ม่ใ​ห​้
คนง​ านจ​ ากก​ ารบ​ าดเ​จ็บซ​ ึ่งอ​ ันตรายท​ ี่จ​ ะเ​กิดข​ ึ้นน​ ั้นม​ ีค​ วามห​ ลากห​ ลาย เกมจ​ ึงต​ ้องอ​ อกแบบม​ าเ​พื่อจ​ ำ�ลองอ​ ันตรายท​ ี่พ​ บ​
ใน​สถานท​ ี่​ก่อสร้างแ​ ละอ​ อกแบบม​ าเ​ป็นก​ ิจกรรมท​ ี่ส​ นับสนุนก​ าร​เรียนร​ ู้แ​ ละก​ ารส​ อนท​ ี่เ​กี่ยวข้องก​ ับ​การ​ฝึก​อบรมช​ ักนำ�​
การ​ก่อสร้าง ผู้เ​ล่นเ​กมต​ ้องส​ ามารถ​ระบุอ​ ันตรายใ​น​การก​ ่อสร้าง มาตรการ​ใน​การค​ วบคุม และ​ระบุก​ ระบวนการส​ ื่อสาร​
และ​การ​รายงานส​ ามารถต​ อบ​สนองต​ ่อ​เหตุการณ์ท​ ี่​เกิด​ขึ้น

       การ​ออกแบบ​เกม​คือ ผู้​เล่น​จะ​เป็น​คน​งาน​ทำ�งาน​อยู่​ใน​สถาน​ที่​ก่อสร้าง กำ�ลัง​เผชิญ​เหตุการณ์​ที่​ก่อ​ให้​เกิด​
อันตราย และผ​ ู้​เล่น​จะ​ต้อง​ใช้​การค​ วบคุมส​ ถานการณ์​ได้​อย่าง​เหมาะส​ ม ระหว่าง​ที่เ​ล่น​เกม ​ผู้​เล่น​จะ​สามารถ​ได้​รับ​ผล​
ตอบร​ ับท​ ั้งเ​ชิงบ​ วกแ​ ละเ​ชิงล​ บ ไดใ้​นเ​ชิงบ​ วกเ​มื่อส​ ามารถจ​ ัดการแ​ ละเ​ชิงล​ บเ​มื่อไ​มส่​ ามารถจ​ ัดการไ​ด้ เมื่อไรก​ ็ตามท​ ีผ่​ ูเ้​ล่น​
สามารถค​ วบคุมก​ ับค​ วามเ​สี่ยงไ​ดด้​ ี ผูเ้​ล่นจ​ ะไ​ดร้​ ับร​ างวัลโ​ดยเ​กมจ​ ะแ​ สดง แอนิเมชันข​ ึ้นม​ า โดยก​ ฎก​ ารค​ วบคุมอ​ ันตราย​
ที่เ​กิด​ขึ้นใ​ช้​หลักก​ าร​ ตาม​โอเ​อชแ​ อนด์เ​อส (Occupational Health and Safety: OH&S)

       3.5	 การ​จำ�ลองส​ ถานการณ​ใ์ นเ​ซ​คนั ไ​ ลฟ์ ในค​ วามเ​ป็น​จริงไ​ม่ส​ ามารถค​ าด​เดา​ว่าจ​ ะ​มีเ​หตุการณ์​ไฟ​ไหม้ ที่​ห้อง
หรือ​จาก​ชั้น​ไหน ภายใน​อาคาร และ​การ​ฝึก​ซ้อม​ใน​สถาน​ที่​จริง​ไม่​สามารถ​ช่วย​ให้​ผู้​อาศัย​ทราบ​ถึง​ทางออก​ที่​ใกล้​ที่สุด
จาก​ทุกห​ ้องห​ รือท​ ุก​ชั้น แต่เ​ป็น​เพียงก​ าร​เดิน​ตาม​ฝูงช​ น 	

       ใน​สถานการณ์จ​ ำ�ลองน​ ี้ เพื่อ​ให้​ผู้​เล่น​สามารถไ​ด้​ฝึก​ซ้อม​อพยพ​ได้​ทุก​สถานการณ์ท​ ี่​เกิด​ไฟ​ไหม้ จึง​จำ�ลอง​ให้​
ผู้​เล่น​สามารถใ​ห้เ​กิดไ​ฟ​ไหม้ได้ท​ ุก​ห้อง ตามผ​ ัง​อาคาร ซึ่งผ​ ู้​เล่น​จะ​ได้​อพยพจ​ ากท​ ุก​ห้อง หรือท​ ุก​ชั้น เพื่อเ​รียนร​ ู้​เส้นท​ าง​
ที่ใ​ กล้​ที่สุด

       สำ�หรับ​การ​ออกแบบ​เกม​เพื่อ​ฝึกซ​ ้อมก​ าร​หนี​ไฟใ​น​อาคาร มีโ​มดูล​ที่​สำ�คัญ 6 โมดูล เพื่อช​ ่วย​เพิ่มท​ ักษะใ​ห้​กับ​
ผู้เ​ล่น​โดย​โมดูลท​ ั้งหมดม​ ี​ดังนี้

            1) 	โมดูล​การ​สร้าง​สถานการณ์​จำ�ลอง เป็นการ​สร้าง​สถานการณ์​ไฟ​ไหม้​ที่​เกิด​ขึ้นใน​ห้อง ที่​เกิด​จาก
​เครื่อง​ใช้ไ​ฟฟ้าร​ ะเบิด ตัวอย่างแ​ สดง​ใน​ภาพ​ที่ 14.40

            2) 	โมดูลก​ ารจ​ ำ�ลองส​ ัญญาณ​เตือน​ไฟ เป็นการ​จำ�ลอง​สัญญาณ​เตือนไ​ฟ
            3) 	โมดูล​การต​ ิดตาม​เส้นท​ าง​อพยพ เป็นการต​ ิดตามต​ ำ�แหน่งก​ ารเ​ดิน​ของอ​ วตาร
            4) 	โมดลู ก​ ารจ​ บั เ​วลา เปน็ การจ​ บั เ​วลาต​ ง้ั แตเ​่ กดิ เ​หตกุ ารณไ​์ ฟไ​หมข​้ น้ึ จ​ นผ​ เ​ู้ ลน่ ส​ ามารถอ​ พยพถ​ งึ จ​ ดุ รวมพ​ ล
            5) 	โมดูลก​ ารต​ ิดตาม​การก​ ด​ลิฟต์ เป็นโ​มดูล​ใน​การ​จับ​ว่าผ​ ู้เ​ล่น​ได้ก​ ด​ลิฟต์ห​ รือไ​ม่
            6) 	โมดูลก​ ารร​ ายงานผ​ ลป​ ระเมิน เป็นโ​มดูลใ​นก​ ารส​ ร้างร​ ายงานเ​พื่อใ​ห้ผ​ ู้เ​ล่นท​ ราบว​ ่าต​ นไ​ด้ท​ ำ�​อะไรบ​ ้าง
และ​อะไรท​ ี่ผ​ ู้เ​ล่นไ​ม่ไ​ด้​ทำ�
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60