Page 14 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 14
3-4 ไทยในเศรษฐกจิ โลก
ตอนที่ 3.1
ความรู้เก่ียวกับเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ
โปรดอา่ นหวั เรอื่ ง แนวคดิ และวัตถุประสงคข์ องตอนท่ี 3.1 แลว้ จึงศกึ ษารายละเอียดตอ่ ไป
หัวเรื่อง
3.1.1 ท่ีมาและพฒั นาการของการศกึ ษาเศรษฐกิจการเมืองระหวา่ งประเทศ
3.1.2 แนวคดิ ทฤษฎีของเศรษฐกจิ การเมืองระหว่างประเทศ
3.1.3 โครงสรา้ งของเศรษฐกิจการเมอื งระหวา่ งประเทศ
แนวคิด
1. เศรษฐกจิ การเมืองระหวา่ งประเทศเกิดข้ึนเน่ืองจากมิติทางการเมอื งและบทบาทของรัฐ
ลดความสำ� คญั ลงขณะทมี่ ติ ทิ างเศรษฐกจิ และบทบาทของบรรษทั ขา้ มชาตทิ วคี วามสำ� คญั
ขึ้นในระบบเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ ขณะท่ีการศึกษาเศรษฐกิจการเมือง
ระหวา่ งประเทศได้เปลี่ยนแปลงไปสู่การศึกษาเศรษฐกิจการเมอื งโลก
2. แ นวคดิ ทฤษฎีหลักท่ีใช้ในการศึกษาเศรษฐกิจการเมืองระหวา่ งประเทศ ได้แก่ แนวคิด
พาณิชย์นิยม แนวคิดเสรีนิยม และแนวคิดโครงสร้างนิยม โดยแต่ละแนวคิดมีหน่วย
วิเคราะหแ์ ละการพิจารณาโครงสรา้ งเศรษฐกจิ การเมอื งระหว่างประเทศทแี่ ตกต่างกัน
3. โครงสรา้ งของเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศพจิ ารณาถงึ มติ ติ า่ งๆ ทส่ี ำ� คญั ในการศกึ ษา
เศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ ไดแ้ ก่ การคา้ ระหวา่ งประเทศ การลงทนุ ระหวา่ งประเทศ และ
การเงนิ ระหวา่ งประเทศ ทเี่ ชอื่ มโยงกบั มติ ทิ างการเมอื งระหวา่ งประเทศดว้ ยมติ ดิ า้ นความ
มั่นคงของรัฐ
วัตถุประสงค์
เมือ่ ศึกษาตอนท่ี 3.1 จบแล้ว นักศกึ ษาสามารถ
1. อธบิ ายทม่ี าและพฒั นาของการศกึ ษาเศรษฐกิจการเมอื งระหว่างประเทศได้
2. อธบิ ายแนวคดิ ทฤษฎีของเศรษฐกจิ การเมอื งระหว่างประเทศได้
3. อธบิ ายโครงสร้างของเศรษฐกิจการเมืองระหวา่ งประเทศได้