Page 16 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 16

3-6 ไทยในเศรษฐกิจโลก

เศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศเป็นเคร่ืองมือในการท�ำความเข้าใจเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ
ผา่ นความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตลาด (Market) กบั อำ� นาจ (Authority) หรอื รฐั (State) ในรปู แบบของการศกึ ษา
เกี่ยวกับการจัดการทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม หรืออ�ำนาจเชิงโครงสร้าง1 (Structural Power)
ทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ ระบบการผลติ การแลกเปลยี่ น และการจดั สรรทรพั ยากร ซง่ึ การจดั การเหลา่ นน้ี อกจาก
จะพจิ ารณาถงึ การจดั การในรปู แบบของสถาบนั แลว้ ยงั ตอ้ งพจิ ารณาถงึ องคป์ ระกอบของคณุ คา่ ตา่ งๆ หรอื
ความสามารถในการก�ำหนดกฎกรอบกตกิ ารวมอยดู่ ว้ ย เนอื่ งจากการจดั การตา่ งๆ ทวี่ า่ นไี้ ม่ไดเ้ กดิ ขน้ึ โดย
บงั เอญิ อยา่ งไมม่ แี บบแผนแตเ่ ปน็ ผลมาจากการตดั สนิ ใจในบรบิ ทของสถาบนั และกฎเกณฑร์ วมถงึ คา่ นยิ มทาง
สงั คมต่างๆ อย่างไรก็ตาม การพิจารณาของเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศไมไ่ ด้ครอบคลมุ เฉพาะมิติ
ทางเศรษฐกิจเท่านั้น หากแต่มีความหมายครอบคลุมไปถึงมิติทางการเมือง และสังคมที่ส่งผลกระทบต่อ
มิตทิ างเศรษฐกจิ ด้วย (O’Brien, Robert and Williams, Marc, 2010)

       โทมัส โอทเลย์ (Thomas Oatley, 2010) พจิ ารณาว่า เศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศเปน็
การศึกษาชีวิตในเศรษฐกิจโลก เป็นการศึกษาการต่อสู้ทางการเมืองระหว่างผู้ได้ประโยชน์ และผู้เสีย
ประโยชน์ จากการแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจระดับโลก เนื่องจากแม้ว่าสังคมทุกสังคมดูเหมือนจะได้รับ
ประโยชนจ์ ากการเขา้ รว่ มหรอื เปน็ สว่ นหนง่ึ ของเศรษฐกจิ โลกและหลกี เลย่ี งไมไ่ ดท้ เี่ ขา้ รว่ มเปน็ สว่ นหนง่ึ ของ
เศรษฐกจิ โลก แตผ่ ลประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั จากการเปน็ สว่ นหน่งึ ของเศรษฐกจิ โลกนี้กระจายไปส่กู ลุ่มต่างๆ ใน
สงั คมและประเทศตา่ งๆ ในโลกอย่างไม่เท่าเทยี มกัน เน่ืองมาจากชีวติ ในเศรษฐกจิ การเมอื งโลกมที ง้ั ผู้คน
กล่มุ คน และประเทศทไ่ี ด้ประโยชน์ และมีผคู้ น กลุ่มคน และประเทศท่ีเสยี ประโยชน์

       ส�ำหรับโรเบิร์ต กิลปิน (Gilpin, Robert, 2001) ประเด็นพื้นฐานของกิจกรรมทางเศรษฐกิจคือ
การท�ำงานของกลไกตลาดว่าสร้างความม่ังค่ังได้อย่างไรและท�ำอย่างไรจึงจะสร้างความมั่งค่ังอย่างมี
ประสิทธิภาพ แต่การที่สังคมจะตัดสินว่าจะใช้กลไกตลาดหรือกลไกอ่ืนๆ ในการกระจายทรัพยากรและ
ผลผลิตหรือความมั่งคั่งของสังคมนั้นเป็นประเด็นทางการเมือง ดังน้ัน เป้าหมายทางสังคมหรือการเมือง
และการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตรใ์ นการบรรลุเป้าหมายเหลา่ น้ีจึงไม่อาจแยกขาดจากกัน

       ในขณะที่ เดวิด บาแลม และ ไมเคลิ เวเซท (David Balaam and Michael Veseth, 2005)
อธิบายว่า ประเด็นปัญหาต่างๆ ในทางเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศมีความเช่ือมโยงจึงไม่สามารถ
ศกึ ษาแบบแยกสว่ นโดยใชค้ วามรขู้ องศาสตรใ์ ดศาสตรห์ นง่ึ โดยเฉพาะ การศกึ ษาและทำ� ความเขา้ ใจประเดน็
ปญั หาเหลา่ นีต้ ้องอาศยั การศึกษาแบบสหวิทยาการ อันเปน็ การบูรณาการศาสตรต์ ่างๆ เขา้ ดว้ ยกนั

       ส่วน โรเบริ ์ต โอเบรียน และ มาร์ค วลิ เลียม (Robert O’Brien and Marc Williams, 2010)
มองวา่ เศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศควรเรยี กวา่ เศรษฐกจิ การเมอื งโลก เพราะเปน็ ศาสตรท์ พ่ี ฒั นาขน้ึ
และสืบเน่ืองมาจากพัฒนาการของระบบเศรษฐกิจสังคมโลก กล่าวคือการก่อตัวข้ึนของรัฐชาติในยุโรปได้
ทำ� ใหร้ ฐั ชาตเิ ปน็ ศนู ยก์ ลางของการศกึ ษาของสงั คมศาสตร์ ในชว่ งแรก รฐั ชาตติ า่ งๆ ยงั ไมไ่ ดม้ คี วามเชอ่ื มโยงกนั
มากนัก การใช้รัฐชาติเป็นศูนย์กลางในการศึกษาจึงเป็นส่ิงที่เหมาะสม แต่เม่ือรัฐชาติต่างๆ มีการติดต่อ
สมั พนั ธแ์ ละมคี วามเชอื่ มโยงกนั มากยง่ิ ขน้ึ ทงั้ ทางเศรษฐกจิ การเมอื ง และสงั คม โดยตดั ขา้ มความสมั พนั ธ์

         1 อำ� นาจเชงิ โครงสรา้ ง (structural power) ของ ซซู าน สเตรนจ์ ประกอบไปดว้ ย 4 มติ ิ คอื ดา้ นความมน่ั คง (security)
ด้านการผลติ (production) ดา้ นการเงนิ (finance) และด้านความรู้ (knowledge)
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21