Page 20 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 20
3-10 ไทยในเศรษฐกิจโลก
ส�ำหรับแนวนโยบายทางเศรษฐกจิ ท่สี ำ� คัญของพวกพาณชิ ย์นิยม กค็ ือ การสนับสนนุ การสง่ ออก
และจำ� กดั การนำ� เขา้ เพอื่ สรา้ งใหเ้ กดิ สว่ นเกนิ ทางการคา้ (Trade Surplus) ซงึ่ เชอื่ กนั วา่ จะนำ� มาซงึ่ ความมง่ั คง่ั
และอำ� นาจ แตค่ วามพยายามในการสรา้ งสว่ นเกนิ ทางการคา้ นนั้ ขน้ึ กบั ความเขม้ แขง็ ทางดา้ นการเมอื งและ
การทหารของรฐั ชาติ ดงั นน้ั วงจรของความรงุ่ เรอื งของรฐั กค็ อื อำ� นาจทางการเมอื งและการทหารนำ� มาซ่ึง
ความมั่งค่ัง และความม่ังค่ังท่ีมากขึ้นก็น�ำมาซึ่งอ�ำนาจทางการเมืองและการทหารที่เพิ่มขึ้น เป็นวงจร
สนับสนนุ สบื เนอ่ื งกนั ไป ด้วยเหตนุ ้รี ัฐชาติทีม่ เี ข้มแขง็ ทางการเมืองและการทหารจึงเป็นรฐั ชาตทิ ม่ี ง่ั ค่ังทาง
เศรษฐกจิ ไปพรอ้ มๆ กันด้วย
แนวคดิ พาณชิ ยน์ ยิ มแบง่ พฒั นาการออกเปน็ 2 ชว่ ง คอื แนวคดิ พาณชิ ยน์ ยิ มคลาสสกิ (Classical
Mercantilism) ซึ่งเป็นแนวคิดในช่วงแรก และแนวคิดพาณิชย์นิยมใหม่ (Neo-Mecantilism) ซึ่งเป็น
แนวคิดในชว่ งหลัง
1.1 แนวคิดพาณิชย์นิยมคลาสสิก เป็นแนวคิดในช่วงระหว่างคริสต์ศตวรรษท่ี 15-18 โดยเน้น
การส่งออกสินค้าในปริมาณมากและน�ำเขา้ สนิ ค้าในปรมิ าณนอ้ ย แนวคดิ เชน่ นี้เปน็ ไปได้ภายในบริบทของ
การขยายตัวทางการค้าท่ีเพ่ิมมากข้ึนในยุคต้น แต่ต่อมาการด�ำเนินนโยบายตามแนวคิดน้ีก็น�ำมาซึ่ง
ความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างรัฐชาติ เนื่องจากการเพ่ิมขึ้นของผลประโยชน์หรืออ�ำนาจของรัฐใด
รัฐหน่งึ เปรยี บเสมือนภัยคกุ คามแกร่ ัฐอื่นๆ ในฐานะท่ีทำ� ให้รฐั อ่ืนๆ สูญเสียผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและ
อ�ำนาจทางการเมืองการทหาร
นอกจากนี้ แนวคิดพาณิชย์นิยมยังเป็นแนวคิดท่ีค�ำนึงถึงผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของรัฐใด
รัฐหนึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับรัฐอื่นๆ กล่าวคือ รัฐใดรัฐหน่ึงจะต้องมีอ�ำนาจทางเศรษฐกิจเหนือกว่าเมื่อ
เปรียบเทียบกับรัฐอื่นในระบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ทั้งนี้อ�ำนาจและผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
ของรัฐแยกไม่ขาดจากอ�ำนาจและผลประโยชน์ในทางการเมือง แนวคิดพาณิชย์นิยมจึงมีมิติของชาตินิยม
ทางเศรษฐกจิ (Economic Nationalism) กลา่ วคอื ผลประโยชนท์ างเศรษฐกจิ ของรฐั อยเู่ หนอื ผลประโยชน์
ทางเศรษฐกิจส่วนบุคคล การแสวงหาอาณานิคม (Colonialism) เป็นเคร่ืองมือส�ำคัญท่ีสะท้อนถึง
ความพยายามของพวกพาณิชย์นิยมในการควบคุมการได้เปรียบทางด้านการค้า ได้แก่ การส่งออกมาก
และการน�ำเข้าน้อย ซ่ึงจะส่งผลให้ประเทศท่ีเป็นเจ้าอาณานิคมได้เปรียบดุลการค้ากับประเทศอาณานิคม
เน่ืองจากประเทศอาณานิคมเป็นทั้งตลาดรองรับสินค้าและแหล่งวัตถุดิบราคาถูกให้กับประเทศเมืองแม่
นโยบายของพวกพาณิชย์นิยมอยู่ในลักษณะที่มีกฎระเบียบที่เข้มงวดต่อการน�ำเข้าสินค้า ในขณะที่ให้
การสนับสนุนและให้ความช่วยเหลือแก่การส่งออกรวมถึงการสนับสนุนให้เกิดการล่าอาณานิคมเพ่ิมเติม
อย่างไรก็ตาม นโยบายต่างๆ เหล่านี้ของพวกพาณิชย์นิยมไม่ได้เป็นเป้าหมายในตัวของมันเองแต่เป็น
เคร่ืองมือที่จะน�ำมาซ่ึงเป้าหมายอื่นๆ อันได้แก่ ความม่ังค่ัง อ�ำนาจทางการเมือง และความมั่นคงของ
ประเทศ
1.2 แนวคิดพาณิชย์นิยมใหม่ พัฒนาขึ้นหลังสงครามโลกคร้ังที่ 2 โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลัง
การลม่ สลายลงของคา่ ยสงั คมนยิ มใน ค.ศ. 1989 ทำ� ใหม้ กี ารขนึ้ ตอ่ กนั และกนั ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ
ทเี่ พม่ิ มากขน้ึ รวมถงึ การดำ� เนนิ งานขององคก์ รระหวา่ งประเทศ เชน่ องคก์ ารการคา้ โลก (WTO) กองทนุ
การเงนิ ระหวา่ งประเทศ (IMF) ธนาคารโลก (World Bank) ซึง่ สนบั สนนุ ให้เกิดการขยายตลาดใหมๆ่