Page 17 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 17

ประเทศไทยกับเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศ 3-7
ในระดบั ตา่ งๆ ทงั้ ระดบั ปจั เจกบคุ คล บรรษทั ประชาสงั คมในระดบั โลก การศกึ ษาในรปู แบบของเศรษฐกจิ
การเมืองระหว่างประเทศก็เคลื่อนไปสู่มิติของเศรษฐกิจการเมืองโลกเพ่ือตอบรับกับการเปล่ียนแปลง
เหล่าน้ี

       กลา่ วโดยสรปุ แมว้ า่ นกั วชิ าการหลายๆ คนจะนยิ ามความหมาย ขอบเขต และจดุ เนน้ ของการศกึ ษา
เศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศแตกตา่ งกนั ไป แตก่ ารใหค้ วามหมายตา่ งๆ ดงั กลา่ วขา้ งตน้ กส็ ะทอ้ นให้
เห็นถึงพลวัตและความสลับซับซ้อนของระบบเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศที่เพ่ิมมากข้ึน กลา่ วคอื
แมว้ า่ เศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศจะใหค้ วามสำ� คญั กบั รฐั แตก่ ข็ ยายความสนใจไปทป่ี ฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ ง
รัฐเหลา่ น้ีในรปู แบบต่างๆ ทง้ั แบบทวภิ าคี (bilateral relations) และพหุภาคี (multilateral relations)
และเมอ่ื บรบิ ททางเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศมกี ารเปลย่ี นแปลงไป ประเดน็ ปญั หาตา่ งๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ
ไม่ได้เป็นประเด็นปัญหาระดับระหว่างรัฐชาติ หรือกลุ่มของรัฐชาติบางกลุ่ม หรือระหว่างกลุ่มของรัฐชาติ
อีกต่อไป แต่ประเด็นปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นเป็นประเด็นปัญหาที่เช่ือมโยงกันในระดับโลก การศึกษา
เศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศก็ปรับเปล่ียนมุมมองหรือขอบเขตของการวิเคราะห์ให้ครอบคลุมและ
บูรณาการในทุกระดับช้ันของความสัมพันธ์มากข้ึน โดยศึกษาถึงการจัดการหรือโครงสร้างทางสถาบัน
ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ทง้ั ปจั เจกบคุ คล รฐั และตลาด รวมถงึ ตวั แสดงและสถาบนั อนื่ ๆ ของโลกทเี่ ชอื่ มโยงกนั อยา่ งท่ี
เรียกวา่ เศรษฐกจิ การเมืองโลก

       นอกจากน้ี การศกึ ษาเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศในปจั จบุ นั ยงั สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ความสลบั
ซบั ซอ้ นของการเชอ่ื มโยงและขน้ึ ตอ่ กนั และกนั ของมติ ติ า่ งๆ มากขนึ้ เรอ่ื ยๆ ดงั นน้ั การทำ� ความเขา้ ใจกลไก
การท�ำงานของเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศรวมถึงประเด็นต่างๆ ในเศรษฐกิจการเมืองระหว่าง
ประเทศจึงต้องอาศัยการวิเคราะห์ท่ีครอบคลุมมิติต่างๆ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองรวมท้ังสังคม
และวฒั นธรรมดว้ ย ดว้ ยเหตนุ กี้ ารศกึ ษาเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศจงึ ตอ้ งมลี กั ษณะของสหวทิ ยาการ
ท่ีเชือ่ มโยงและน�ำเอาการวเิ คราะห์ในศาสตรต์ า่ งๆ มาใชร้ ่วมกนั

       ภาพสะท้อนของการเปลี่ยนแปลงในบริบทเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศส่งผลให้เกิด
การพัฒนาการของแนวคิดทฤษฎีต่างๆ ในเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ เนื่องจากแนวคิดทฤษฎี
ตา่ งๆ นน้ั ถอื กำ� เนดิ และพฒั นาไปเพอื่ ตอบสนองตอ่ ประเดน็ ทางเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศในบรบิ ท
ช่วงเวลาและสถานท่ีๆ แตกต่างกันไป แต่ละแนวคิดทฤษฎีจึงมีจุดสนใจ การตั้งค�ำถาม รวมท้ังยังมี
อุดมการณ์เบ้ืองหลงั ทีแ่ ตกต่างกนั ไปดงั ทจี่ ะได้ศึกษาตอ่ ไปในเรอ่ื งที่ 3.1.2

กิจกรรม 3.1.1
       จงอธบิ ายถึงพัฒนาการของการศกึ ษาเศรษฐกิจการเมอื งระหว่างประเทศ
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22