Page 21 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 21

ประเทศไทยกับเศรษฐกจิ การเมืองระหวา่ งประเทศ 3-11
พร้อมๆ ไปกับลดข้อกีดกันทางการค้า การขยายตัวมากขึ้นและการขึ้นต่อกันและกันทางเศรษฐกิจผ่าน
การเช่ือมโยงกันด้วยการค้าส่งผลกระทบให้ประเทศต่างๆ มีความกังวล จึงพยายามแสวงหาหนทางท่ีจะ
ปกป้องความมั่นคงทางเศรษฐกิจและความเปน็ อสิ ระใหแ้ ก่ประเทศของตน

       อยา่ งไรกต็ าม การดำ� เนนิ นโยบายแบบพาณชิ ยน์ ยิ มแบบคลาสสกิ เชน่ ในอดตี ผา่ นนโยบายการเกบ็
ภาษแี ละการจ�ำกดั ปริมาณการน�ำเขา้ เพื่อปกป้องผลประโยชนข์ องประเทศในรูปแบบทเี่ รียกว่า การกดี กนั
ทางการค้า ไม่เป็นท่ียอมรับกันในบริบทเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศหลังสงครามโลกครั้งท่ี 2 ท่ีมี
ลกั ษณะแบบเสรนี ยิ มดงั ทจ่ี ะไดก้ ลา่ วตอ่ ไปในเรอื่ งท่ี 3.2.1 ประเทศตา่ งๆ จงึ ปรบั เปลย่ี นการดำ� เนนิ นโยบาย
ทางเศรษฐกจิ ไปอยใู่ นรปู แบบใหมเ่ พอื่ ปกปอ้ งผลประโยชนข์ องประเทศในรปู แบบทเ่ี รยี กวา่ พาณชิ ยน์ ยิ มใหม่
เพื่อไม่ให้ขัดกับการห้ามการกีดกันทางการค้า เครื่องมือที่ประเทศต่างๆ น�ำมาใช้ในการปกป้องทาง
การคา้ จะมกี ารพฒั นารปู แบบไปจากเดมิ ทใ่ี ชม้ าตรการทางภาษี (Tariff Measures) ดว้ ยการกำ� หนดอตั รา
ภาษนี ำ� เขา้ ทสี่ งู มาเปน็ มาตรการแบบใหมท่ ไ่ี มใ่ ชภ่ าษี (None-Tariff Measures) เชน่ การนำ� เอามาตรฐาน
ด้านส่ิงแวดล้อม แรงงาน สิทธิมนุษยชน และคุณภาพสินค้ามาใช้ในการกีดกันทางการค้าแทน เรียกว่า
การกีดกันทางการคา้ รปู แบบใหม่ (New Protectionism)

       เมอ่ื บรบิ ทของเศรษฐกจิ การเมอื งในความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศในยคุ หลงั สงครามเยน็ เปลยี่ นแปลงไป
มคี วามเชอื่ มโยงกนั ระหวา่ งมติ ทิ างเศรษฐกจิ การเมอื ง และสงั คมของประเทศตา่ งๆ ในรปู แบบของโลกาภวิ ตั น์
การด�ำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจของแต่ละประเทศส่งผลกระทบซึ่งกันและกันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
การดำ� เนนิ นโยบายตา่ งๆ ของพวกพาณชิ ยน์ ยิ มใหมท่ ม่ี เี ปา้ หมายเพอื่ ปกปอ้ งผลประโยชนแ์ ละรกั ษาอ�ำนาจ
ของรัฐชาติจึงประสบกับทาง 2 แพร่ง คือ ในด้านหน่ึง โลกาภิวัตน์ก็เปิดโอกาสให้รัฐชาติที่มีอ�ำนาจทาง
การเมืองและเศรษฐกิจเก็บเกี่ยวผลประโยชน์จากความเชื่อมโยงและข้ึนต่อกันและกัน สร้างความเข้มแข็ง
ให้กับรัฐชาติ ในอีกด้านหนึ่งโลกาภิวัตน์ก็ท�ำให้รัฐชาติต้องเผชิญกับความยากล�ำบากและความทา้ ทาย
เนื่องจากไม่สามารถด�ำเนินนโยบายได้อย่างอิสระ รวมถึงไม่สามารถควบคุมผลกระทบของกระบวนการ
โลกาภวิ ตั นไ์ ด้ จงึ อาจจะกลา่ วไดว้ า่ โลกาภวิ ตั นน์ บั เปน็ บรบิ ททที่ า้ ทายตอ่ การรกั ษาอำ� นาจและผลประโยชน์
ของรฐั ชาตใิ นทศั นะของพวกพาณิชยน์ ยิ ม

2.	 แนวคิดเสรีนิยม

       แนวคิดเสรีนิยมเป็นแนวคิดที่มีพัฒนาการในยุโรปมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษท่ี 18 โดยเฉพาะใน
ประเทศฝรั่งเศส และอังกฤษ แนวคิดของพวกฟิสิโอแครต (Physiocrats) ของฝรั่งเศสประณาม
การแทรกแซงของรฐั เพราะเหน็ วา่ การแทรกแซงของรฐั จะนำ� มาซง่ึ ผลเสยี ในขณะเดยี วกนั กเ็ ชอ่ื มนั่ ในหลกั การ
ทเ่ี รยี กว่า “ปล่อยให้ทำ� ไป ปลอ่ ยใหผ้ า่ นไป” ท่ีรู้จักกนั ดีว่า Laissez-faire, Laissez-passer นี้ ต่อมา
เปน็ รากฐานของแนวคดิ เสรนี ยิ มขององั กฤษโดยเฉพาะแนวคดิ ของพวกเศรษฐศาสตรก์ ารเมอื งแบบคลาสสกิ
(Classical Political Economy) นบั เนอื่ งตั้งแต่ อดัม สมิธ (Adam Smith) ท่เี ชอื่ วา่ โดยพ้ืนฐานแลว้
มนุษย์มีความเห็นแก่ตัวและต้องการแสวงหาความสุขหรือผลประโยชน์ส่วนตน ความเห็นแก่ตัวและ
การแสวงหาประโยชนส์ ว่ นตนของปจั เจกบคุ คลนน้ี ำ� มาซง่ึ การแขง่ ขนั และการแขง่ ขนั นใ้ี นทส่ี ดุ จะทำ� ใหส้ งั คม
โดยรวมไดป้ ระโยชนไ์ ปดว้ ย โดยสมธิ เชอ่ื มน่ั ในสง่ิ ทเี่ รยี กวา่ มอื ทม่ี องไมเ่ หน็ (invisible hand) หรอื กลไกราคา
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26