Page 26 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 26

3-16 ไทยในเศรษฐกจิ โลก
ระหว่างแรงงานด้วยกันเองกดดันให้ค่าแรงต่�ำลง การแข่งขันระหว่างทุนท�ำให้นายทุนที่อ่อนแอกว่าต้อง
ประสบกับปัญหาและหายไปจากตลาด

       สำ� หรบั มารก์ ซ์ รฐั ไมไ่ ดอ้ งคก์ รทเ่ี ปน็ อสิ ระแตร่ ฐั ผกู พนั กบั ชนชนั้ นายทนุ อำ� นาจของรฐั และอำ� นาจ
ของทุนจึงมีความเช่ือมโยงกันในรูปแบบท่ีรัฐให้การสนับสนุนอ�ำนาจของทุน และทุนก็ได้ประโยชน์จาก
อำ� นาจรฐั ทเี่ ปน็ ตวั แทนรกั ษาผลประโยชนข์ องทนุ แนวคดิ เรอ่ื งรฐั ของมารก์ ซจ์ งึ แตกตา่ งจากพวกพาณชิ ยน์ ยิ ม
ทม่ี องวา่ รฐั เปน็ อสิ ระและมอี ำ� นาจสงู สดุ และตา่ งจากพวกเสรนี ยิ มทเ่ี หน็ วา่ รฐั เปน็ ภยั คกุ คามตอ่ เสรภี าพของ
ปจั เจกบุคคล

       แนวคดิ ของมารก์ ซ์ถกู พัฒนาต่อโดยมารก์ ซสิ ม์รนุ่ ต่อมาอยา่ ง วลาดิมีร์ อิลลิช เลนนิ (Vladimir
Ilyich Lenin) ที่พิจารณาว่าการแข่งขันกันของทุนท�ำให้เกิดการผูกขาด (Monopoly) และรวมตัวเป็น
ทนุ ขนาดใหญใ่ นรปู ของทรสั ต์ (Trusts) คารเ์ ทล (Cartels) แตเ่ มอ่ื ทนุ มขี นาดใหญข่ น้ึ ทนุ กม็ คี วามตอ้ งการ
สะสมทนุ และขยายตวั เพม่ิ มากข้นึ ตามตรรกะของทนุ แต่ตลาดและแหลง่ วัตถดุ ิบภายในประเทศมีขอบเขต
จ�ำกัด จึงทำ� ให้ระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นยิ มเกิดวกิ ฤตการณไ์ ด้ถ้าไม่สามารถขยายตัวอยา่ งตอ่ เนือ่ ง สง่ ผล
ใหท้ นุ ตอ้ งทำ� การขยายตวั ไปหาตลาดและแหลง่ วตั ถดุ บิ จากภายนอกในรปู ของอาณานคิ มเพอ่ื แสวงหาตลาด
และแหล่งวตั ถดุ ิบใหม่ๆ ประเทศชายขอบ (Peripheral Countries) ตา่ งๆ จึงถกู ผนวกเข้าเปน็ สว่ นหนึง่
ของระบบทุนนิยมในรูปแบบของอาณานิคม ประเทศอุตสาหกรรมจึงท�ำการครอบง�ำประเทศอาณานคิ มใน
รปู แบบของจักรวรรดนิ ิยม (Imperialism) ซง่ึ เป็นข้ันตอนทีจ่ ำ� เปน็ แกก่ ารดำ� รงอยขู่ องระบบทุนนิยม เป็น
พัฒนาการทส่ี งู ข้นึ ของระบบทุนนิยม

       แนวคิดของเลนินเป็นแนวคิดท่ีชี้ให้เห็นว่าระบบทุนนิยมได้ส่งต่อการขูดรีดในระดับประเทศไป
ส่รู ะดบั ระหว่างประเทศไดอ้ ย่างไร และการขดู รดี หรือความไมเ่ ท่าเทียมกันระหวา่ งชนชนั้ สามารถขยายตวั
ไปสู่การขูดรีดและความไม่เท่าเทียมกันระหว่างประเทศต่างๆ ได้อย่างไร ท�ำไมถึงเกิดการพัฒนาแบบ
ไม่เทา่ เทยี มกนั (Uneven development) ข้นึ ในหมู่ประเทศกำ� ลังพัฒนา กล่าวคือทฤษฎีจกั รวรรดนิ ยิ ม
ของเลนินได้แสดงให้เห็นว่าประเทศทุนนิยมท่ีร�่ำรวยสามารถหลีกเลี่ยงการเกิดวิกฤตการณ์โดยการท�ำให้
ประเทศก�ำลังพัฒนาตกอยู่ในกับดักของความด้อยพัฒนาเพราะต้องพ่ึงพิงและข้ึนต่อประเทศที่พัฒนาแล้ว
ในด้านตา่ งๆ ทงั้ การผลิต การจา้ งงาน และการเงิน ซึง่ จะกลา่ วถึงต่อไปในเรือ่ งท่ี 3.2.3

       ด้วยเหตุนี้ แนวคิดโครงสร้างนิยมที่มีต้นสายมาจากแนวคิดของมาร์กซ์จึงไม่ได้เป็นแค่เคร่ืองมือ
ในการวิเคราะหร์ ะบบเศรษฐกิจการเมอื งระหว่างประเทศทีอ่ ยใู่ นรปู แบบทนุ นิยม เท่านน้ั แนวคิดนี้ยังเปน็
เครอื่ งมอื ในการวพิ ากษค์ วามไมเ่ ทา่ เทยี มกนั และการขดู รดี ทมี่ ใี นระบบเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศ
นอกจากนี้ แนวคิดน้ียังมีลักษณะพิเศษที่ส�ำคัญคือ เป็นแนวคิดที่สะท้อนมุมมองของผู้ที่ด้อยอ�ำนาจกว่า
ทำ� ใหแ้ นวคดิ นแี้ ตกตา่ งไปจากแนวคดิ 2 แนวคดิ ทไี่ ดก้ ลา่ วถงึ ไปแลว้ คอื แนวคดิ พาณชิ ยน์ ยิ มและเสรนี ยิ ม
แนวคิดโครงสร้างนิยมยังท�ำให้การวิเคราะห์เศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศมีพลวัต สะท้อนให้เห็นถึง
ความขดั แยง้ และการเปลยี่ นแปลงผา่ นการเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งทางเศรษฐกจิ การเมอื งในแตล่ ะบรบิ ทและ
แตล่ ะชว่ งเวลา

       ตารางที่ 3.1 เป็นการเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างกันในประเด็นการวิเคราะห์ท่ี
ส�ำคญั ๆ ในการศึกษาเศรษฐกจิ การเมอื งระหว่างประเทศของกลมุ่ แนวคดิ ทฤษฎหี ลัก
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31