Page 25 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 25
ประเทศไทยกบั เศรษฐกจิ การเมอื งระหว่างประเทศ 3-15
ในเร่ืองการรักษาส่ิงแวดล้อม การสนับสนุนการศึกษาและฝึกอบรม การสร้างและปรับปรุงการเครือข่าย
การคมนาคม สอื่ สาร รวมถงึ การพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี อยา่ งไรกต็ ามระดบั ของการแทรกแซง
และควบคุมของรฐั ในด้านตา่ งๆ เหลา่ นย้ี ังเปน็ ท่ถี กเถยี งกันอยู่
3. แนวคิดโครงสร้างนิยม
แนวคิดโครงสร้างนิยมได้รับอิทธิพลมาจากแนวคิดของ คาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx) ในส่วนท่ี
อาจเรยี กเฉพาะเจาะจงลงไปวา่ เปน็ โครงสรา้ งนยิ มทางเศรษฐกจิ (Economic Structuralism) ทพี่ จิ ารณา
วา่ ความขดั แยง้ ในโครงสรา้ งทางเศรษฐกจิ หรอื โครงสรา้ งสว่ นลา่ ง (Base structure) เปน็ ตวั ผลกั ดนั ใหเ้ กดิ
การเปล่ียนแปลงวิถีการผลิต (Mode of production) ในพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของสังคมมนุษย์
แม้ว่าเม่ือพิจารณาโดยท่ัวไปแล้วทั้งโครงสร้างส่วนล่างที่ประกอบไปด้วย พลังทางการผลิต (Force of
production) และความสัมพันธ์ทางการผลิต (Relations of production) และโครงสร้างส่วนบน
(Superstructure) อันเป็นส่วนของอุดมการณ์ ต่างก็ร่วมกันก�ำหนดและเปลี่ยนแปลงวิถีการผลิต แต่
โครงสรา้ งสว่ นลา่ งเปน็ ตวั กำ� หนดทสี่ ำ� คญั ทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ ความขดั แยง้ และการเปลย่ี นแปลงทสี่ ง่ ผลใหเ้ กดิ การเปลย่ี น-
แปลงจากวิถีการผลิตเดิมน�ำพาให้สังคมเข้าสู่วิถีการผลิตรูปแบบใหม่ อย่างไรก็ตาม ส�ำหรับประเด็นหลัก
ในงานของมารก์ ซ์ คอื ความพยายามจะทำ� ความเขา้ ใจกลไกการทำ� งานของระบบทนุ นยิ มและเงอ่ื นไขทแ่ี ฝง
อยู่ในกระบวนการสะสมทุน (Capital Accumulation) ที่มีแนวโน้มท่ีจะก่อให้เกิดวิกฤตการณ์อยู่เสมอ
อยา่ งยากทจี่ ะหลกี เลย่ี ง โดยเฉพาะความขดั แยง้ ทางชนชน้ั ทแ่ี หลมคมขน้ึ จนอาจทำ� ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลง
วถิ กี ารผลติ แบบทุนนิยมไปสู่สังคมนิยม
ดว้ ยเหตนุ ้ี มารก์ ซจ์ งึ มมี มุ มองทแ่ี ตกตา่ งไปจากมมุ มองของแนวคดิ พาณชิ น์ ยิ มและเสรนี ยิ ม กลา่ วคอื
มาร์กซ์ไม่ได้เร่ิมต้นการพิจารณาด้วย การเลือกให้ความส�ำคัญระหว่างปัจเจกชน ตลาด หรือ รัฐ แต่
มาร์กซ์เริ่มต้นการเข้าสู่ปัญหาด้วยการพิจารณาประเด็นเร่ืองชนช้ัน (Class) มาร์กซ์แบ่งคนในสังคมออก
เปน็ 2 ชนชนั้ โดยพจิ ารณาจากเงอื่ นไขความเปน็ เจา้ ของปจั จยั การผลติ ชนชนั้ ทคี่ รอบครองปจั จยั การผลติ
ไดแ้ ก่ ชนช้นั นายทุน (Capitalist) และชนชนั้ ทไ่ี ม่ไดค้ รอบครองปจั จัยการผลิตใดๆ ยกเวน้ กำ� ลังแรงงาน
ของตนเอง ไดแ้ ก่ ชนชนั้ กรรมาชพี (Proletariat) ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งกลมุ่ คน 2 ชนชน้ั นี้ เปน็ รากฐานของ
ความสมั พนั ธท์ างสงั คมของคนในสงั คมทมี่ ารก์ ซเ์ รยี กวา่ ความสมั พนั ธท์ างการผลติ ซงึ่ ไมไ่ ดม้ คี วามกลมกลนื
และเหน็ พ้องตอ้ งกันแบบท่ีพวกเสรนี ิยมพจิ ารณา แต่เป็นความขัดแยง้ ในรูปแบบท่ชี นช้นั นายทนุ มอี ำ� นาจ
เหนอื ชนชนั้ แรงงานเนอื่ งจากเปน็ เจา้ ของปจั จยั การผลติ ทนุ จงึ ทำ� การขดู รดี (Exploit) สว่ นเกนิ จากการผลติ
(Surplus) ท่ีชนชั้นกรรมาชีพสร้างขึ้นผ่านกระบวนการแรงงานและท�ำการสะสมทุนแบบขยาย จนท�ำให้
เกดิ ความขดั แยง้ และวกิ ฤตการณ์ จนในทีส่ ุด จะน�ำมาซึง่ การปฏวิ ัตเิ ปลยี่ นแปลงวิถกี ารผลิตจากทนุ นยิ ม
ไปสูส่ งั คมนยิ ม
สำ� หรบั มารก์ ซก์ ารแขง่ ขนั ระหวา่ งนายทนุ ดว้ ยกนั เอง การแขง่ ขนั ระหวา่ งแรงงานดว้ ยกนั เอง รวมถงึ
การต่อสู้ระหว่างทุนและแรงงานในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมไม่ได้เป็นเกมท่ีมีผลรวมเป็นศูนย์ เหมือน
อยา่ งทพ่ี วกพาณชิ ยน์ ยิ มเชอ่ื และกไ็ มไ่ ดเ้ ปน็ เกมทส่ี รา้ งผลดตี อ่ ทกุ ฝา่ ยอยา่ งทพ่ี วกเสรนี ยิ มเชอื่ การแขง่ ขนั
และตอ่ สใู้ นการพจิ ารณาของมารก์ ซเ์ ปน็ เกมทมี่ แี ตก่ ารสญู เสยี (Negative-sum game) กลา่ วคอื การแขง่ ขนั