Page 27 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 27

ประเทศไทยกับเศรษฐกจิ การเมืองระหวา่ งประเทศ 3-17

	 ตารางที่ 3.1	ประเด็นการวิเคราะห์ที่ส�ำคัญในการศึกษาเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ
		  แยกตามแนวคิดของกลุ่มแนวคิดทฤษฎีหลัก4

ประเด็นการวิเคราะห์          แนวคิดพาณิชย์นิยม          แนวคิดเสรีนิยม       แนวคิดโครงสร้างนิยม
ช่วงเวลาทีแ่ นวคดิ กอ่ ตวั   คริสตศ์ ตวรรษที่ 15       คริสตศ์ ตวรรษท่ี 19    ครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 19
หน่วยในการวเิ คราะห์                                                               ชนชั้น
                                  รฐั ชาติ               ปัจเจกบคุ คล        มีล�ำดับขั้น และขดู รีด
  รปู แบบของความ            อนาธปิ ตั ย์ แขง่ ขัน และ    รว่ มมอื และขน้ึ
  สมั พันธ์ของหนว่ ย                                     ต่อกนั และกัน
                                แยง่ ชิงอ�ำนาจ
    การวเิ คราะห์
  มมุ มองเกี่ยวกับรฐั       รัฐเปน็ ตวั แสดงส�ำคญั รฐั เป็นตวั แทนของกลมุ่ ผล รฐั เปน็ ตัวแทนของชนชน้ั
                                                       ประโยชน์ทีห่ ลากหลาย    นายทุน
 รปู แบบของพ้นื ฐาน
ของเศรษฐกจิ การเมือง        เกมที่มผี ลรวมเปน็ ศนู ย์ เกมทส่ี ร้างผลดีตอ่ ทุกฝ่าย เกมท่มี ีแตก่ ารสญู เสีย

   ระหวา่ งประเทศ

       แมว้ า่ การพิจารณาโครงสร้างเศรษฐกจิ การเมืองระหวา่ งประเทศผา่ นแนวคิดและทฤษฎที ง้ั 3 น้ี
จะเปน็ พน้ื ฐานใหเ้ ราสามารถทำ� ความเขา้ ใจสถานะและบทบาทของประเทศไทยในเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ ง
ประเทศในตอนท่ี 3.2 และ 3.3 ได้ดยี งิ่ ขน้ึ แตแ่ นวคดิ หลักเหลา่ นี้ยังไมส่ ามารถอธิบายครอบคลมุ ประเดน็
ปญั หาตา่ งๆ ในเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศ จงึ ทำ� ใหเ้ กดิ การพฒั นาแนวคดิ ตา่ งๆ เพม่ิ เตมิ เพอื่ เปน็
ทางเลอื กในการทำ� ความเขา้ ใจ อรรถาธบิ าย และเสนอแนวทางในการแกป้ ญั หาตา่ งๆ ทมี่ คี วามสลบั ซบั ซอ้ น
มคี วามเชือ่ มโยงกนั มากขน้ึ ในรูปของกลุ่มทฤษฎีทางเลอื ก ซึง่ จะไมก่ ลา่ วถึงในที่นี้

กิจกรรม 3.1.2
       จงเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างแนวคดิ พาณิชยน์ ยิ มกบั แนวคิดเสรนี ิยม

4 ปรับจาก Balaam, David and Veseth, Michael. (2005). Introduction to International Political Economy.
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32