Page 31 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 31
ประเทศไทยกับเศรษฐกิจการเมอื งระหว่างประเทศ 3-21
ทางทหาร โดยเฉพาะภยั จากการรกุ รานของตา่ งชาติ เปน็ ตน้ แมว้ า่ แนวคดิ เรอื่ งความมน่ั คงแบบดง้ั เดมิ จะ
ไมไ่ ดก้ ลา่ วถงึ มติ ทิ างเศรษฐกจิ โดยตรง แตเ่ ราจะพบวา่ มติ ทิ างเศรษฐกจิ โดยเฉพาะการสรา้ งความมง่ั คง่ั ทาง
เศรษฐกิจด้วยการคา้ การลงทุน รวมถึงการเงินระหวา่ งประเทศน้ันเกีย่ วเนือ่ งกับมิตทิ างความมัน่ คงอยา่ ง
แยกขาดจากกนั ไมไ่ ด้ ตวั อยา่ งเชน่ ในยคุ ของจกั รวรรดนิ ยิ มในครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 18-19 ทร่ี ฐั ดำ� เนนิ การสงั่ สม
อ�ำนาจทางการเมืองผ่านการสร้างแสนยานุภาพทางการทหารพร้อมๆ ไปกับการด�ำเนินนโยบายทาง
เศรษฐกจิ เพอื่ สง่ั สมความมง่ั คง่ั ผา่ นการคา้ การลงทนุ และการเงนิ ระหวา่ งประเทศรวมถงึ การลา่ อาณานคิ ม
เพื่อหาวตั ถดุ ิบและตลาดใหม่
อยา่ งไรกต็ าม แนวคดิ เกยี่ วกบั ความมน่ั คงไดม้ กี ารเปลยี่ นแปลงใหค้ รอบคลมุ มติ ทิ ห่ี ลากหลายและ
สอดคล้องกับบริบทการเปลี่ยนแปลงของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ไปเป็นรูปแบบของความม่ันคงท่ี
ไม่ใชแ่ บบดัง้ เดิม (Non-Traditional Security) อันครอบคลุมถงึ มติ ิทหี่ ลากหลาย เชน่ ปญั หาท่เี กดิ จาก
ดา้ นสาธารณสขุ การยา้ ยถนิ่ สง่ิ แวดลอ้ ม การแยง่ ชงิ ทรพั ยากร อาชญากรรมขา้ มชาติ ปญั หาโจรสลดั และ
ปัญหาการกอ่ การร้าย โดยเฉพาะความมัน่ คงของมนษุ ย์ (Human Security) ซึง่ ไดถ้ ูกเสนอเปน็ ระเบยี บ
วาระในระดับโลกอย่างเป็นทางการเป็นคร้ังแรกในรายงานการพัฒนามนุษย์ (Human Development
Report) ค.ศ. 1994 โดยส�ำนักงานโครงการพฒั นาแหง่ สหประชาชาติ (United Nations Development
Program: UNDP) ได้เสนอแนวคิดส�ำคัญเก่ียวกับการพัฒนาท่ีถือมนุษย์เป็นศูนย์กลาง รายงานฉบับนี้
ชใี้ หเ้ หน็ วา่ มนษุ ยท์ งั้ ในประเทศพฒั นาแลว้ และกำ� ลงั พฒั นาตอ้ งเผชญิ กบั ความไมม่ น่ั คงอะไรบา้ งในยคุ โลกาภวิ ตั น์
ความไม่มั่นคงดังกล่าวจ�ำแนกออกเป็น 7 ประการ คือ ความผันผวนทางการเงินและความไม่ม่ันคงทาง
เศรษฐกิจ ความไม่ม่ันคงทางอาชีพและรายได้ ความไม่มั่นคงทางสุขภาพ ความไม่ม่ันคงทางวัฒนธรรม
ความไมม่ น่ั คงสว่ นบคุ คล เชน่ การเผชญิ กบั อาชญากรรม การคา้ ยาเสพตดิ และการคา้ มนษุ ย์ ความไมม่ น่ั คง
ทางส่ิงแวดล้อม และความไมม่ นั่ คงทางการเมืองและชมุ ชน (UNDP, 1994)
ด้วยเหตุนี้ การเปลี่ยนแปลงค�ำจ�ำกัดความของความมั่นคงแบบดั้งเดิมที่มักหมายถึงความม่ันคง
ของรฐั โดยใชก้ ารพฒั นาแสนยานภุ าพทางการทหารมาเปน็ ความมน่ั คงของมนษุ ยท์ คี่ รอบคลมุ ถงึ มติ ทิ ส่ี ำ� คญั
ต่างๆ โดยเฉพาะมิติทางเศรษฐกิจสะท้อนให้เห็นการตระหนักถึงการให้ความส�ำคัญกับคุณภาพชีวิตของ
มนษุ ย์ ทส่ี ามารถจะบรรลไุ ดส้ ว่ นหนง่ึ กด็ ว้ ยการใชเ้ ครอื่ งมอื และการดำ� เนนิ นโยบายทางเศรษฐกจิ ประเดน็
ความมั่นคงของมนุษย์จึงแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า ในยุคปัจจุบันการศึกษาเศรษฐกิจการเมืองระหว่าง
ประเทศมบี ทบาทและทวีความส�ำคญั ขน้ึ เรื่อยๆ
กิจกรรม 3.1.3
จงอธิบายโครงสรา้ งของเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ