Page 34 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 34

3-24 ไทยในเศรษฐกิจโลก

                       ความน�ำ

       การพจิ ารณาการเปลยี่ นแปลงในระบบเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศในชว่ งระยะเวลาใดเวลาหนงึ่
ถอื เปน็ รากฐานทส่ี ำ� คญั ในการทำ� ความเขา้ ใจสถานะของประเทศหนง่ึ ประเทศใดในสงั คมเศรษฐกจิ การเมอื ง
โลกในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่งด้วย เนื่องจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างระบบเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม
ไมอ่ าจถกู ตดั ขาดจากกนั ดงั ทไี่ ดก้ ลา่ วถงึ ไปแลว้ ในเรอ่ื งที่ 3.1.1 การพจิ ารณาถงึ สถานะของประเทศไทยใน
ฐานะสมาชกิ ของสงั คมเศรษฐกจิ การเมอื งโลกจงึ ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ พลวตั ของการเปลยี่ นแปลงอนั เปน็ ภาวะปกติ
ของสังคมเศรษฐกิจการเมืองโลก เพราะพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไทยเป็นส่วนหน่ึงท่ีสะท้อนมาจาก
การเปลี่ยนแปลงและปฏิสัมพันธ์ที่ไทยมีต่อระบบเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศในแต่ละช่วงเวลา
อย่างไรกต็ าม การพิจารณาถงึ สถานะของประเทศไทยในเศรษฐกิจการเมอื งระหวา่ งประเทศ ก็ไม่สามารถ
พิจารณาโดยไม่อาศัยกรอบแนวคิดทฤษฎีดงั ทีไ่ ด้กล่าวไปแลว้

       นอกจากน้ี พลวัตของการเปล่ียนแปลงในระบบเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศยังไม่สามารถ
ตดั ตอนออกมาพจิ ารณาแบบยากขาดออกจากกนั เปน็ ชว่ งๆ ได้ ในการพจิ ารณาเศรษฐกจิ ไทยในเศรษฐกจิ
การเมืองระหวา่ งประเทศน้ี แม้ว่าจะมกี ารแยกพจิ ารณาตามช่วงเวลาทมี่ เี หตุการณส์ ำ� คัญๆ เปน็ จุดเนน้ ใน
การศกึ ษา โดยในตอนที่ 3.2 จะกลา่ วถงึ เศรษฐกจิ ไทยในเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศหลงั สงครามโลก
ครง้ั ท่ี 2 และตอนท่ี 3.3 จะกล่าวถงึ เศรษฐกจิ ไทยในเศรษฐกจิ การเมืองระหว่างประเทศหลังสงครามเยน็
ก็เพ่ือให้เป็นการง่ายต่อการท�ำความเข้าใจเท่าน้ัน มิได้มีเจตนาท่ีจะท�ำให้เกิดการตัดตอนแยกขาดจากกัน
หรือเป็นการอธิบายเชิงเหตุผลแบบเส้นตรง เนื่องจากการพิจารณาระเบียบเศรษฐกิจการเมืองของโลกใน
ชว่ งเวลาตา่ งๆ เปรียบเสมอื นการพจิ ารณาความสมั พนั ธอ์ ืน่ ๆ ในโลกแห่งความเปน็ จรงิ ท่เี หตุปจั จัยตา่ งๆ
มีความเก่ียวเน่ืองสัมพันธ์กันอย่างสลับซับซ้อนทั้งมิติของเวลาและสถานที่ ในบางช่วงเวลาบางมิติอาจจะ
มีบทบาทหลัก อย่างเช่น อุดมการณ์ทางการเมืองมีบทบาทหลักในยุคหลังสงครามโลกคร้ังที่ 2 หรือมิติ
ทางเศรษฐกจิ มีบทบาทสำ� คญั ในยคุ หลังสงครามเยน็ 	

       หลงั สงครามโลกครงั้ ท่ี 2 ระบบเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศมกี ารเปลย่ี นแปลงอยตู่ ลอดเวลา
โลกไดแ้ ยกออกเปน็ 2 คา่ ยอดุ มการณท์ มี่ คี วามขดั แยง้ กนั อยา่ งชดั เจนระหวา่ งคา่ ยเสรนี ยิ มซงึ่ มรี ากฐานอยู่
บนระบอบการเมืองที่มีอุดมการณ์แบบเสรีนิยมและระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมน�ำโดยสหรัฐอเมริกา กับ
ค่ายสังคมนิยมที่มีรากฐานอยู่บนระบอบการเมืองที่มีอุดมการณ์แบบสังคมนิยมและระบบเศรษฐกิจแบบ
วางแผนรวมศนู ยจ์ ากสว่ นกลางนำ� โดยสหภาพโซเวยี ต ระเบยี บเศรษฐกจิ การเมอื งโลกภายใตค้ วามขดั แยง้
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39