Page 37 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 37
ประเทศไทยกับเศรษฐกิจการเมืองระหวา่ งประเทศ 3-27
ประการแรก คอื ความปน่ั ปว่ นในระบบการเงนิ ระหวา่ งประเทศมบี ทบาทสำ� คญั ทำ� ใหล้ ทั ธฟิ าสซสิ ม์
ขนึ้ มามอี ทิ ธพิ ลและเตบิ โตไดใ้ นประเทศเยอรมนี และอติ าลี ซงึ่ ในทส่ี ดุ นำ� ไปสกู่ ารลม่ สลายลงของเสถยี รภาพ
ของระบบระหว่างประเทศ ดังน้ัน กลไกที่จะสร้างรักษาเสถียรภาพของระบบระหว่างประเทศ จงึ ตอ้ งให้
ความสำ� คญั กบั การสรา้ งระเบยี บการเงนิ ระหวา่ งประเทศเนอ่ื งจากการทำ� ใหร้ ะบบการเงนิ ดำ� เนนิ การไปไดอ้ ยา่ ง
ราบร่ืนมีความสำ� คญั และเป็นแนวทางในการจดั ต้ังองค์กร สถาบนั และการดำ� เนนิ การตา่ งๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง
กบั การจดั ระเบยี บการเงนิ ระหวา่ งประเทศ เชน่ องคก์ รการเงนิ ระหวา่ งประเทศ ธนาคารเพอื่ การบรู ณะและ
พัฒนาระหว่างประเทศ หรอื ธนาคารโลก รวมถงึ แผนการมารแ์ ชล (Marshall Plan)
ประการท่ีสอง ระบบเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศหลังสงครามโลกครง้ั ที่ 1 ซง่ึ นำ� ไปสู่การแบ่งแยก
และแขง่ ขนั กนั ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งภมู ภิ าคตา่ งๆ ไดพ้ สิ จู นใ์ หเ้ หน็ แลว้ วา่ เปน็ อนั ตรายและอาจนำ� ไปสคู่ วาม-
ขดั แยง้ ดว้ ยเหตนุ ี้ การพยายามจดั ระเบยี บเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศภายหลงั สงครามโลกครงั้ ท่ี 2
จงึ ตอ้ งทำ� ใหเ้ กดิ การคา้ แบบเสรี ความพยายามจดั การคา้ เสรนี สี้ ะทอ้ นใหเ้ หน็ ในความพยายามกอ่ ตง้ั องคก์ ร
การคา้ ระหวา่ งประเทศ (International Trading Organization: ITO) เพอื่ นำ� ระบบการคา้ ระหวา่ งประเทศ
เข้าสู่ระบบพหุภาคี (multilateroal trading system) แม้ว่าต่อมา ITO ต้องลดรูปลงมาเป็นเพียง
ความตกลงท่ัวไปวา่ ดว้ ยพกิ ัดอตั ราภาษศี ลุ กากรและการคา้ (GATT) กต็ าม
ประการทส่ี าม พลงั ของมวลชนโดยเฉพาะแรงงานจะตอ้ งถกู จดั การในรปู แบบใดรปู หนง่ึ เพอ่ื ลดบทบาท
อิทธิพลของแนวคิดแบบสังคมนิยมในประเทศต่างๆ ลง โดยแนวนโยบายที่ถูกน�ำมาใช้เป็นเคร่ืองมือใน
การจดั การพลงั ของมวลชนและแรงงานกค็ อื การใหร้ ฐั ดำ� เนนิ แนวนโยบายตามแนวคดิ ของเคนส์ (Keynesian
state) เพอ่ื กระจายรายไดไ้ ปสคู่ นสว่ นใหญใ่ นสังคม
ประการท่ีสี่ การจดั การเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศตอ้ งการองคก์ รทส่ี ามารถจดั การดา้ นความมนั่ คง
ระหวา่ งประเทศและปอ้ งปรามไมใ่ หค้ วามขดั แยง้ ระหวา่ งประเทศตา่ งๆ ลกุ ลามไปจนเกดิ สงครามขนาดใหญ่
เชน่ สงครามโลกครง้ั ที่ 2 ทเ่ี กดิ ขนึ้ จากความลม้ เหลวขององคก์ รสนั นบิ าตชาติ ดว้ ยเหตนุ ้ี หลงั สงครามโลก
ครง้ั ที่ 2 ไดม้ กี ารจดั ตงั้ องคก์ ารสหประชาชาตขิ นึ้ และเมอื่ เกดิ สงครามเยน็ กไ็ ดม้ กี ารกอ่ ตง้ั องคก์ รความรว่ มมอื
ทางความมั่นคงอย่างองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือหรือองค์การนาโต (North Atlantic
Treaty Organization: NATO) ข้นึ
ประการที่ห้า การแก้ไขข้อผิดพลาดทั้ง 4 ประการที่ได้กล่าวมาแล้วน้ีจะด�ำเนินไปได้ก็ต่อเมื่อ
สหรฐั อเมรกิ าตอ้ งเขา้ มามบี ทบาทเปน็ มหาอำ� นาจหลกั ของคา่ ยเสรนี ยิ มในระบบเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ ง
ประเทศแทนท่ีการแยกตัวโดดเดี่ยวและก้าวออกมามีบทบาทเม่ือเกิดปัญหาความขัดแย้งในระบบระหว่าง
ประเทศอยา่ งท่ีสหรัฐอเมรกิ าเคยดำ� เนินการมากอ่ นในช่วงทศวรรษ 1920 และ 1930
อยา่ งไรกต็ าม การกา้ วขน้ึ มามบี ทบาทของสหรฐั อเมรกิ าในฐานะมหาอำ� นาจและผนู้ ำ� คา่ ยเสรนี ยิ ม
พร้อมๆ ไปกับความพยายามสร้างระเบียบเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศจากข้อผิดพลาดของ
การด�ำเนินงานของระเบียบเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศช่วงก่อนหน้าสงครามโลกคร้ังท่ี 2 น้ีต้อง
พจิ ารณาควบคไู่ ปกบั การกอ่ ตวั ขนึ้ ของมหาอำ� นาจและผนู้ ำ� คา่ ยสงั คมนยิ มอยา่ งสหภาพโซเวยี ตซง่ึ ทวบี ทบาท
และความส�ำคัญมากขึ้นเร่ือยๆ เช่นกันภายหลังการส้ินสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ดังนั้น ระบบเศรษฐกิจ
การเมืองระหว่างประเทศภายหลังสงครามโลกครั้งท่ี 2 จึงตั้งอยู่บนบริบทของการแบ่งออกเป็น 2 ข้ัว