Page 41 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 41
ประเทศไทยกับเศรษฐกจิ การเมืองระหว่างประเทศ 3-31
ของโลกใน ค.ศ. 1973 ไดส้ ง่ ผลใหเ้ กดิ วกิ ฤตการณน์ ำ�้ มนั ขน้ึ จากการทร่ี าคานำ้� มนั ดบิ ถบี ตวั สงู ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง
จนทำ� ใหเ้ กิดวิกฤตเศรษฐกจิ ตกตำ�่ ครงั้ ใหญ่ครง้ั ที่ 2 (Second Great Depression) ใน ค.ศ. 1970 ซง่ึ มี
ลักษณะแตกต่างไปจากภาวะเศรษฐกิจตกต�่ำครั้งใหญ่เมื่อ ค.ศ. 1929 เน่ืองจากเกิดภาวะท่ีเรียกว่าภาวะ
ชะงกั งนั ทางเศรษฐกจิ (Stagflation) คอื เกดิ การวา่ งงานพรอ้ มๆ ไปกบั เงนิ เฟอ้ ทำ� ใหน้ โยบายแบบเคนส์
ที่เคยเป็นเสาหลักในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจของแนวนโยบายของประเทศต่างๆ ภายหลังสงครามโลก
ครงั้ ท่ี 2 ถกู ตัง้ ค�ำถาม
นอกจากนี้ ระบบเบรตตนั วดู ส์ ยงั สง่ ผลใหบ้ รรดาประเทศโลกทสี่ ามไมพ่ งึ พอใจและตงั้ คำ� ถามตอ่
แนวทางการพฒั นาประเทศตามแนวทางเสรนี ยิ มแบบฝงั รากทเ่ี ปน็ ฐานของระเบยี บเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ ง
ประเทศในชว่ งนี้ เนอ่ื งจากระเบยี บเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศดงั กลา่ วทำ� ใหเ้ กดิ ความไมเ่ ทา่ เทยี มกนั
ระหวา่ งกลมุ่ ประเทศพฒั นาแลว้ และประเทศกำ� ลงั พฒั นา จงึ เรยี กรอ้ งใหม้ กี ารจดั ระเบยี บเศรษฐกจิ ใหม่ (The
New International Economic Order: NIEO) ใหเ้ ปน็ ไปในแนวทางทสี่ นบั สนนุ ผลประโยชนข์ องประเทศ
โลกทสี่ ามซงึ่ เปน็ ประเทศกำ� ลงั พฒั นาในดา้ นตา่ งๆ มากยง่ิ ขนึ้ เชน่ การลดอตั ราภาษศี ลุ ากากรของประเทศ
พฒั นาแล้ว และการเพมิ่ ความชว่ ยเหลอื ในรูปแบบต่างๆ กับประเทศก�ำลังพัฒนา เป็นตน้
ในที่สุด ระเบียบเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศภายหลังสงครามโลกครั้งท่ี 2 ก็ไม่อาจสร้าง
เสถยี รภาพได้อย่างทคี่ าดหวังกัน ความลม้ เหลวของระบบเบรตตนั วูดส์ ยังสะท้อนให้เหน็ ถึงจดุ ส้ินสดุ ลง
ของการเปน็ มหาอำ� นาจฝา่ ยเดยี วของสหรฐั อเมรกิ า และเปน็ การกา้ วขนึ้ มามบี ทบาทของประเทศมหาอำ� นาจ
ทางเศรษฐกจิ อน่ื ๆ ทฟ่ี น้ื ตวั ขน้ึ ภายหลงั สงครามโลกครง้ั ท่ี 2 เชน่ ยโุ รปตะวนั ตก และ ญปี่ นุ่ ในขณะเดยี วกนั
กท็ ำ� ใหแ้ นวทางเสรนี ยิ มแบบฝงั รากอนั เปน็ รากฐานของระเบยี บเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศภายหลงั
สงครามโลกครัง้ ท่ี 2 ต้องสนิ้ สดุ ลง โดยเฉพาะการดำ� เนนิ นโยบายเสรีนยิ มแบบเคนสซ์ งึ่ เป็นแนวนโยบาย
ในระดับประเทศของประเทศตา่ งๆ
การลดความสามารถในการแข่งขันและสถานภาพทางเศรษฐกิจของประเทศมหาอ�ำนาจอย่าง
สหรฐั อเมรกิ าในทศวรรษที่ 1970 เปน็ ตน้ มา สง่ ผลกระทบตอ่ การเปลยี่ นแปลงทสี่ ำ� คญั ตอ่ เศรษฐกจิ การเมอื ง
ระหวา่ งประเทศ กลา่ วคอื ไดม้ กี ารประชมุ ทจี่ ดั ขนึ้ ทโ่ี รงแรมพลาซา (Plaza Hotel) ในกรงุ นวิ ยอรก์ ระหวา่ ง
ประเทศมหาอำ� นาจทางเศรษฐกจิ โลก หรอื กลุม่ G59 ใน ค.ศ. 1985 ท�ำให้เกดิ ขอ้ ตกลงพลาซา่ (Plaza
Accord) ท่ีมีสาระส�ำคัญอยู่ท่ีการท่ีเหล่าประเทศมหาอ�ำนาจทางเศรษฐกิจที่ประกอบไปด้วย ญ่ีปุ่น
สหรัฐอเมริกา อังกฤษ เยอรมนี และฝร่ังเศส ท�ำการปรับเปล่ียนค่าเงินของตนโดยมีเป้าหมายให้ค่าเงิน
ดอลลารส์ หรฐั ออ่ นคา่ ลงเมอื่ เทยี บกบั เงนิ ตราสกลุ อน่ื ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ คา่ เงนิ เยนของญป่ี นุ่ โดยคาดหวงั
วา่ การทำ� ใหค้ า่ เงนิ ดอลลารส์ หรฐั ออ่ นคา่ ลงจะเปน็ กลไกสำ� คญั ในการปรบั การขาดดลุ การคา้ จำ� นวนมหาศาล
ของสหรฐั อเมรกิ า เนอ่ื งจากใน ค.ศ. 1984 สหรฐั อเมรกิ าขาดดลุ การคา้ ถงึ 112,000 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั โดย
ขาดดลุ การคา้ กบั ญปี่ นุ่ มากทส่ี ดุ ถงึ 33,500 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั (Pongpaichit and Baker, 1998) การออ่ นคา่ ลง
ของเงนิ ดอลลารส์ หรฐั จะทำ� ใหส้ หรฐั อเมรกิ าสามารถสง่ ออกไดม้ ากขน้ึ เนอื่ งจากสนิ คา้ ของสหรฐั อเมรกิ าจะมี
9 หลงั จากการประชุมพลาซ่าใน ค.ศ. 1985 กลุ่ม G5 ได้ขยายตวั เปน็ กลุ่ม G 7 คือมกี ารเชญิ ประเทศแคนาดาและอติ าลี
เขา้ ร่วมในการประชุมสดุ ยอดกลมุ่ ประเทศมหาอำ� นาจทางเศรษฐกจิ ครงั้ ต่อมาในเดอื นพฤษภาคม ค.ศ. 1986