Page 45 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 45

ประเทศไทยกับเศรษฐกจิ การเมืองระหว่างประเทศ 3-35
       สำ� นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตติ ระหนกั ถงึ ขอ้ จำ� กดั ของการดำ� เนนิ การ
ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมเพื่อทดแทนการน�ำเข้า จึงพยายามเปลี่ยนยุทธศาสตร์การพัฒนา
ประเทศไปสู่การพัฒนาอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก ดังจะเห็นได้ว่ามีการกล่าวถึงความจ�ำเป็นที่จะต้องมี
การพัฒนาอุตสาหกรรมการส่งออกในแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 3 หากแต่ยังไม่ได้ด�ำเนินการอย่างจริงจัง
จนกระท่ังได้มีการแก้ไขพระราชบัญญัติส่งเสริมการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมใน พ.ศ. 2515 แต่อย่างไร
กต็ าม ความพยายามนเี้ ปน็ เพยี งมาตรการเพมิ่ เตมิ ทด่ี ำ� เนนิ การควบคไู่ ปกบั ยทุ ธศาสตรท์ ดแทนการนำ� เขา้
มากกว่าที่จะเปน็ การเปล่ียนแปลงไปสู่ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศไปสูก่ ารส่งเสรมิ การส่งออกทนั ที
       ในชว่ งแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 4 (พ.ศ. 2520-2524) เกดิ วกิ ฤตการณน์ ำ้� มนั และความผนั ผวนทางการเมอื ง
ภายในประเทศ ประเทศไทยจึงเผชิญกบั ปญั หาการขาดดลุ การค้าและดลุ บัญชีเดนิ สะพัดอยา่ งรนุ แรง โดย
ภายหลังวิกฤตการณ์น้�ำมันคร้ังท่ี 2 ประเทศไทยต้องประสบกับภาวะการขาดดุลการช�ำระเงินอันเนื่อง
มาจากราคาน�้ำมันเพ่ิมสูงขึ้นในขณะที่ราคาของสินค้าส่งออกอย่างสินค้าเกษตรและสินค้าข้ันปฐมตกต�่ำลง
ผนวกกับค่าใช้จ่ายทางการทหารและการพัฒนาท่ีเพ่ิมมากข้ึนเน่ืองจากเงินช่วยเหลือทางการทหารและ
เศรษฐกจิ ซงึ่ เคยไดร้ บั จากสหรฐั อเมรกิ าลดนอ้ ยลงเนอื่ งจากสหรฐั อเมรกิ าไดถ้ อนตวั ออกจากภมู ภิ าคอนิ โดจนี
ท�ำให้ประเทศไทยต้องกู้ยืมเงินจากธนาคารโลกเป็นจ�ำนวนถึง 542 ล้านดอลลาร์สหรัฐเพื่อแก้ไขปัญหา
การขาดดุลการช�ำระเงินในช่วง พ.ศ. 2522-2523 และในช่วง พ.ศ. 2524-2526 ก็ต้องกู้ยืมเงินจาก
ธนาคารโลกอกี 325 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั รวมถงึ ยงั ตอ้ งกยู้ มื เงนิ จากกองทนุ การเงนิ ระหวา่ งประเทศอกี 610
ล้านดอลลาร์สหรัฐ ส่งผลให้องค์กรเศรษฐกิจระหว่างประเทศทั้งสองโดยเฉพาะธนาคารโลกได้เข้ามามี
อทิ ธพิ ลในการกำ� หนดแนวนโยบายทางเศรษฐกจิ ของไทยภายใตแ้ นวทางการปรบั โครงสรา้ งทางเศรษฐกจิ
(Structural Adjustment) ที่มุ่งส่งเสริมให้เกิดการขยายตัวของอุตสาหกรรมการส่งออก (ผาสุก และ
เบเกอร์, 2539)
       แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 5 (พ.ศ. 2525-2529) จงึ หนั กลบั มาเนน้ การรกั ษาเสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ
การปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจรวมทั้งการแก้ไขปัญหาความยากจน การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกส่งผล
ให้ภาวะเศรษฐกิจเติบโตอย่างรวดเร็ว แต่ประเทศไทยต้องเผชิญกับปัญหาสังคมและเร่ิมมีปัญหาความ
เสอ่ื มโทรมของธรรมชาติ จงึ ไดม้ ีการผลกั ดันใหม้ ีการออกกฎหมายดแู ลในเร่ืองสง่ิ แวดลอ้ มและจัดตัง้ กลไก
ดูแลงานดา้ นส่งิ แวดล้อมขน้ึ นบั ตง้ั แตแ่ ผนพฒั นาฯ ฉบับที่ 5 เป็นตน้ มา
       อยา่ งไรกต็ าม ความพยายามกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การสง่ ออกสนิ คา้ อตุ สาหกรรมเรม่ิ ประสบผลอยา่ งจรงิ จงั
ในพ.ศ. 2528 อนั เปน็ ปแี รกทม่ี ลู คา่ การสง่ ออกสนิ คา้ อตุ สาหกรรมของไทยสงู กวา่ สนิ คา้ เกษตร มลู คา่ สนิ คา้
อุตสาหกรรมของไทยคิดเป็นสัดส่วนของการส่งออกท้ังหมดเท่ากับร้อยละ 49.5 ในขณะท่ีสินค้าเกษตรมี
มลู คา่ การสง่ ออกคดิ เปน็ สดั สว่ นรอ้ ยละ 37.9 ของสดั สว่ นการสง่ ออกทง้ั หมดของประเทศ (ผาสกุ พงษไ์ พจติ ร,
2541)
       กล่าวโดยสรุป สถานะของประเทศไทยในเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศหลังสงครามโลก
ครงั้ ท่ี 2 อยใู่ นชว่ งเวลาทมี่ ติ สิ ำ� คญั ของบรบิ ทเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศเปน็ ประเดน็ ดา้ นความขดั แยง้
ด้านอุดมการณ์และการเมืองระหว่าง 2 ข้ัวมหาอ�ำนาจ ไทยในฐานะพันธมิตรส�ำคัญของสหรัฐอเมริกาจึง
ได้รับผลกระทบในทางบวกจากการเข้ามามีบทบาทในฐานะมหาอ�ำนาจหลักของค่ายเสรีนิยมโลกและ
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50