Page 47 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 47
ประเทศไทยกับเศรษฐกจิ การเมืองระหว่างประเทศ 3-37
สงครามโลกครงั้ ท่ี 2 จงึ ไดแ้ ก่ ประเดน็ การพงึ่ พาของประเทศกำ� ลงั พฒั นาตอ่ ประเทศพฒั นาแลว้ ซงึ่ แนวคดิ
หลกั ทว่ี พิ ากษว์ จิ ารณต์ อ่ ประเดน็ การพ่งึ พานไ้ี ดแ้ ก่ แนวคิดโครงสรา้ งนิยมทีม่ พี ัฒนาการตอ่ มาจากแนวคดิ
ของมาร์กซแ์ ละเลนนิ ดงั ทไ่ี ด้กลา่ วถึงไปแลว้ ในเรือ่ งที่ 3.1.2 ซ่งึ กค็ ือ ทฤษฎรี ะบบโลก (Modern World
System) และทฤษฎีพ่ึงพงิ (Dependency theory)
แนวคิดโครงสร้างนิยมเร่ิมต้นการพิจารณาจากแนวคิดโครงสร้างนิยมทางเศรษฐกิจของมาร์กซ์ท่ี
แสดงให้เห็นภาพความขัดแย้งระหว่างชนช้ันนายทุนและแรงงานรวมถึงวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจท่ียังอยู่
ในระบบทนุ นยิ ม มาจนถงึ ทฤษฎจี ักรวรรดินิยมของเลนนิ ทสี่ ง่ ทอดการขดู รดี ของทนุ ข้ามอาณาบรเิ วณของ
รัฐชาติหน่ึงๆ ไปเป็นการขูดรีดของทุนในระดับโลกๆ เพ่ือตอบสนองต่อการเติบโตของการสะสมทุนแนว
ขยาย ไปสทู่ ฤษฎรี ะบบโลกของวอลเลอรส์ ไตนแ์ ละทฤษฎพี งึ่ พงิ ของหมนู่ กั คดิ ชาวลาตนิ อเมรกิ าไดส้ ะทอ้ น
ให้เห็นภาพการจัดกลุ่มประเทศต่างๆ ในโลกออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ กลุ่มประเทศท่ีพัฒนาแล้วหรือ
ประเทศศูนย์กลางที่เป็นฝ่ายเอารัดเอาเปรียบและได้ประโยชน์ และกลุ่มประเทศก�ำลังพัฒนาหรือประเทศ
รอบนอกทเี่ ปน็ ฝา่ ยถกู เอารดั เอาเปรยี บ สะทอ้ นใหเ้ หน็ ภาพความพยายามทำ� ความเขา้ ใจความสมั พนั ธแ์ บบ
เหนอื -ใต้ (North-South relations) และผลกระทบของความสัมพันธ์ในรูปแบบน้ีในเศรษฐกจิ การเมือง
ระหวา่ งประเทศ
ทฤษฎรี ะบบโลกมหี นว่ ยของการวเิ คราะหท์ ค่ี รอบคลมุ กวา้ งไปกวา่ รฐั ชาตเิ นอื่ งจากนำ� เอาความเชอ่ื มโยง
ของประเทศต่างๆ ในโลกมาเป็นหน่วยของการวิเคราะห์ เรียกว่า ระบบโลก โดยพิจารณาว่า การเข้าใจ
ประวัติศาสตร์ผ่านกรอบการเคลื่อนตัวของประวัติศาสตร์โลกจะช่วยให้สามารถวิเคราะห์เช่ือมโยงทั้งทาง
เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรมระหว่างประเทศได้อย่างสอดคล้องกับความเป็นจริงเน่ืองจากประเทศ
ต่างๆ ถูกเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน การพิจารณาเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศในรูปแบบของระบบโลก
เร่ิมต้นต้ังแต่คริสต์ศตวรรษท่ี 14-15 ท่ีระบบเศรษฐกิจโลกได้สถาปนาตัวเองขึ้นมาอย่างเป็นระบบโดยมี
ศนู ยก์ ลางทย่ี โุ รปผา่ นการขยายตวั ของการคา้ และวฒั นธรรม รวมทงั้ การทำ� สงครามปลน้ ชงิ และลา่ อาณานคิ ม
มที ี่มาจากแนวคดิ ของ เฟอรน์ านด์ โบรเดล (Fernand Braudel)
ตอ่ มานกั สังคมวิทยา อมิ มานเู อล วอลเลอร์สไตน์ (Immanuel Wallerstein) ไดน้ ำ� เอาพ้นื ฐาน
แนวคิดการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ในระดับโลกของโบรเดลโดยพิจารณาว่าระบบโลกประกอบไปด้วย 3
สว่ น ไดแ้ ก่ ศนู ยก์ ลาง (Center) ส่วนก่งึ รอบนอกหรือกงึ่ ชายขอบ (Semi-periphery) และสว่ นรอบนอก
หรอื ชายขอบ (Periphery) ศนู ย์กลาง ไดแ้ ก่ ประเทศทพี่ ฒั นาแลว้ ท้งั หลาย เช่น สหรัฐอเมรกิ า ประเทศ
ตา่ งๆ ในยุโรปตะวันตก เป็นตน้ ส่วนก่งึ ชายขอบ ไดแ้ ก่ ประเทศญี่ปุ่นและอตุ สาหกรรมใหม่ (NICs) เชน่
เกาหลใี ต้ ไตห้ วนั สงิ คโปร์ ฮอ่ งกง ฯลฯ สว่ นชายขอบ ไดแ้ ก่ ประเทศก�ำลังพัฒนาต่างๆ วอลเลอร์สไตน์
พจิ ารณาวา่ ในขณะทปี่ ระเทศศนู ยก์ ลางจะแสวงหาผลประโยชนจ์ ากประเทศรอบนอกและกงึ่ รอบนอก รวมทงั้
กีดกันทางการค้าจากประเทศรอบนอกและกึ่งรอบนอกโดยมาตรการต่างๆ ประเทศก่ึงรอบนอกจะถูกเอา
เปรียบจากประเทศศูนย์กลาง แต่ในเวลาเดียวกันก็เข้าไปแสวงหาผลประโยชน์จากประเทศรอบนอกด้วย
การกดี กนั ทางการคา้ ไมใ่ หส้ นิ คา้ จากประเทศรอบนอกเขา้ ไปในตลาด ดงั นน้ั ในทฤษฎรี ะบบโลกนี้ ประเทศ
รอบนอกหรอื ชายขอบจงึ เปน็ กลมุ่ ทถี่ กู เอาเปรยี บมากทส่ี ดุ ทง้ั จากศนู ยก์ ลางและกง่ึ ชายขอบ ทำ� ใหป้ ระเทศ
รอบนอกเปน็ ประเทศก�ำลงั พัฒนาทย่ี ากที่จะพฒั นาข้ึนมาได้