Page 44 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 44

3-34 ไทยในเศรษฐกิจโลก
แผนพัฒนาฯ 3 แผนแรก จาก พ.ศ. 2504-2519 ซงึ่ ไม่ได้กล่าวถึงนโยบายสง่ิ แวดล้อมเลย ในระยะเวลา
ดงั กลา่ ว ธรรมชาตไิ ดถ้ กู นำ� มาใชป้ ระโยชนเ์ พอื่ ความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ อยา่ งไมม่ ขี ดี จำ� กดั (วราพร
ศรีสุพรรณ, 2534)

       ดังที่ได้กล่าวในเร่ืองที่ 3.2.1 แล้วว่า ในช่วงระยะหลังสงครามโลกคร้ังที่ 2 ระเบียบเศรษฐกิจ
การเมืองโลกอยู่ในยุคสงครามเย็นระหว่าง 2 ค่ายอุดมการณ์ ไทยเป็นประเทศหน่ึงท่ีมีความส�ำคัญต่อ
ยุทธศาสตร์การต่อสู้ระหว่างค่ายเสรีนิยมและสังคมนิยมในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์เน่ืองจากสหรัฐอเมริกา
วติ กกังวลตอ่ ภยั คุกคามของลัทธิคอมมวิ นิสตท์ กี่ า้ วเขา้ มาครอบงำ� ประเทศต่างๆ หลายประเทศในภมู ิภาค
เอเชียอาคเนย์ เร่ิมต้ังแต่ เวียดนาม กัมพูชา และลาว ประเทศไทยและเศรษฐกิจไทยจึงพึ่งพิงและได้
ประโยชนจ์ ากระเบยี บเศรษฐกจิ การเมอื งโลกในชว่ งนโี้ ดยเฉพาะเงนิ ชว่ ยเหลอื จากสหรฐั อเมรกิ าและผลพวง
จากค่าใชจ้ า่ ยในการท�ำสงครามเวียดนาม12

       เศรษฐกจิ ไทยในขณะนน้ั เตบิ โตไดจ้ ากการสง่ ออกสนิ คา้ เกษตรทข่ี ยายตวั อยา่ งรวดเรว็ อตุ สาหกรรม
ส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมเพ่ือทดแทนการน�ำเข้าภายใต้โครงสร้างของภาษีน�ำเข้าท่ีปกป้องอุตสาหกรรม
ภายใน เพ่ือตอบสนองต่ออุปสงค์ภายในประเทศท่ีขยายตัวอย่างรวดเร็ว โดยมีการถ่ายโอนส่วนเกินจาก
ภาคเกษตรกรรมทกี่ ำ� ลงั ขยายตวั ไปสภู่ าคอตุ สาหกรรมซง่ึ สะทอ้ นใหเ้ หน็ ไดจ้ ากนโยบายการเกบ็ ภาษสี ง่ ออก
สนิ คา้ เกษตร เชน่ ภาษกี ารสง่ ออกขา้ ว ทร่ี จู้ กั กนั ในนาม “พรเี มย่ี มขา้ ว” สง่ ผลใหร้ าคาขา้ วภายในประเทศ
ตำ่� กวา่ ราคาขา้ วในตลาดโลก ทำ� ใหค้ า่ แรงในประเทศมรี าคาตำ่� เนอื่ งจากขา้ วถอื เปน็ สนิ คา้ หลกั ในการครองชพี
ของแรงงาน ภาคอุตสาหกรรมจึงได้ประโยชน์จากค่าครองชีพที่ต่�ำของแรงงาน แต่ภาคเกษตรกรรมต้อง
แบกรบั ภาระในการพัฒนาอตุ สาหกรรมและประเทศแทน

       อยา่ งไรกต็ าม ยทุ ธศาสตรแ์ ละนโยบายพฒั นาอตุ สาหกรรมเพอื่ ทดแทนการนำ� เขา้ ไดถ้ งึ ขดี จำ� กดั 13
เมอื่ ตลาดภายในประเทศมกี ารอมิ่ ตวั และไมส่ ามารถขยายตวั ตอ่ ไปได้ แมว้ า่ การพฒั นาอตุ สาหกรรมการนำ� เขา้
ในชว่ งนท้ี ำ� ใหม้ ลู คา่ เพม่ิ จากหตั ถอตุ สาหกรรมเพมิ่ ขนึ้ จากรอ้ ยละ 13 ของผลติ ภณั ฑม์ วลรวมภายในประเทศ
ใน พ.ศ. 2503 เป็นร้อยละ 22 ใน พ.ศ. 2527 แต่การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมกลับมิได้มีผลต่อ
การจ้างงานในสัดสว่ นเดยี วกนั เนือ่ งจากอตุ สาหกรรมส่วนใหญม่ กี ารเนน้ ใชท้ นุ มากกว่าแรงงาน

         12 ทักษ์ เฉลิมเตียรณ (2552) ได้สรุปไว้ว่า ระหว่าง พ.ศ. 2497-2505 สหรัฐอเมริกาเก่ียวข้องกับการก่อสร้าง
ในประเทศไทยซง่ึ สว่ นใหญเ่ ปน็ ถนนและสะพานมีมลู คา่ ทั้งหมด 97 ลา้ นดอลลาร์สหรัฐ โดยที่ 35 ล้านดอลลารส์ หรฐั มาจากโครงการ
ช่วยเหลือทางทหาร และ 62 ล้านดอลลาร์สหรัฐมาจากโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจ ทั้งน้ีรวมถึงการยกระดับและการก่อสร้าง
สง่ิ อำ� นวยความสะดวกตา่ งๆ ทฐี่ านกองทพั อากาศไทย 7 แหง่ คา่ ยทหารบก 10 แหง่ และสงิ่ อำ� นายความสะดวกอน่ื ๆ ของกองทพั ไทย
ผาสกุ พงษไ์ พจิตรและคริส เบเกอร์ (2539) ได้สรุปไวว้ ่า นบั ตั้งแต่ พ.ศ. 2495 จนถึง 2515 มูลค่าความชว่ ยเหลือทางการทหารของ
สหรัฐอเมริกาที่ให้แก่ไทยคิดเป็นมูลค่า 1.147 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นอกจากน้ียังมีการให้เงินช่วยเหลืออีก 82 ล้านดอลลาร์สหรัฐแก่
กรมต�ำรวจ และยงั ไดใ้ หเ้ งินชว่ ยเหลือแบบให้เปลา่ อกี 530 ล้านดอลลารส์ หรัฐผ่านองคก์ ร USAID

         13 ขดี จำ� กดั ของการใชย้ ทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาอตุ สาหกรรมทดแทนการนำ� เขา้ คอื การมตี ลาดภายในประเทศทแ่ี คบ เนอื่ งจาก
ขอ้ จำ� กดั ของประชากรและรายไดข้ องประชากรทไ่ี มส่ งู มากนกั นอกจากน้ี การสนบั สนนุ อตุ สาหกรรมทดแทนการนำ� เขา้ ดว้ ยการลดภาษี
การนำ� เขา้ สนิ คา้ ทนุ ทำ� ใหม้ กี ารใชเ้ ทคโนโลยที เี่ นน้ การใชท้ นุ เขม้ ขน้ โครงสรา้ งเศรษฐกจิ ของประเทศจงึ ไมส่ ามารถขยายการจา้ งงาน
รายได้ของแรงงาน หรือขยายตลาดภายในประเทศไปได้ อีกทั้งการปกป้องอุตสาหกรรมภายในยังยากที่จะก่อให้เกิดการผลิต
ท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพเนื่องจากไมม่ ีการแขง่ ขนั กบั ผ้ผู ลิตภายนอกประเทศ
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49