Page 40 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 40
3-30 ไทยในเศรษฐกิจโลก
การจดั ตง้ั กองทนุ การเงนิ ระหวา่ งประเทศและธนาคารเพอื่ การบรู ณะและพฒั นา แตก่ ารจดั ตงั้ องคก์ ารการคา้
ระหวา่ งประเทศไมป่ ระสบผล เนอ่ื งจากรฐั สภาสหรฐั ไมใ่ หค้ วามเหน็ ชอบตอ่ การจดั ตงั้ องคก์ ารการคา้ ระหวา่ ง
ประเทศ ท�ำใหต้ ้องลดระดับลงเป็น ความตกลงทว่ั ไปวา่ ด้วยภาษีศุลากรและการคา้ หรือ GATT8
แม้ว่าระบบเบรตตัน วูดส์ จะให้ความส�ำคัญกับเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมเช่นเดียวกับระเบียบ
เศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศในชว่ งตน้ ศตวรรษที่ 19 แตร่ ะบบนก้ี ม็ ลี กั ษณะพเิ ศษแบบที่ จอหน์ รกั กี
(John Ruggie, 1982) เรยี กวา่ เสรนี ยิ มแบบฝงั ราก (Embedded Liberalism) เพราะมคี วามแตกตา่ งกนั
ในแนวทางปฏบิ ตั ใิ นระดบั ระหวา่ งประเทศและระดบั ประเทศ กลา่ วคอื ในระดบั ระหวา่ งประเทศนน้ั สนบั สนนุ
ให้มีทุกประเทศต้องมีนโยบายการค้าระหว่างประเทศแบบเสรี ในขณะที่ระดับประเทศกลับสนับสนุนให้
รัฐบาลของแต่ละประเทศสามารถด�ำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจได้อย่างเป็นอิสระโดยใช้แนวนโยบายแบบ
เคนสท์ เ่ี นน้ การกระตนุ้ เศรษฐกจิ โดยเฉพาะการกระตนุ้ การจา้ งงานและจดั ใหม้ สี วสั ดกิ ารของภาครฐั สาเหตุ
ท่ีท�ำให้แนวนโยบายในระดับประเทศแตกต่างจากนโยบายในระดับระหว่างประเทศก็คือในระดับประเทศ
ต้องการให้มีความสงบเรียบร้อยและเสถียรภาพปราศจากความขัดแย้งระหว่างชนชั้นทุนและแรงงานเป็น
การประนปี ระนอมกนั ระหวา่ ง 2 ชนชนั้ เพอ่ื ใหร้ ะเบยี บเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศดำ� เนนิ ไปไดอ้ ยา่ ง
ราบรื่น
นับต้ังแต่การส้ินสุดของสงครามโลกครั้งท่ี 2 ระบบเบรตตัน วูดส์สร้างเสถียรภาพและท�ำให้
เศรษฐกิจโลกเติบโตอยา่ งตอ่ เน่อื ง ซ่ึงช่วงเวลาดังกลา่ วนสี้ ามารถแบง่ ได้เป็น 2 ช่วง ช่วงแรกตั้งแต่ ค.ศ.
1945-1960 เป็นช่วงที่สหรัฐอเมริกามีบทบาทอิทธิพลทางเศรษฐกิจ บรรษัทสัญชาติอเมริกันครอบครอง
การลงทุนระหวา่ งประเทศท้งั ในด้านปรมิ าณและจ�ำนวนบริษทั ลูกในต่างประเทศ ท�ำใหอ้ ำ� นาจและอิทธพิ ล
ของสหรัฐอเมริกาขยายตัวไปท่ัวโลกผ่านการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศ ช่วงที่สอง ช่วงต้ังแต่ ค.ศ.
1960-1971 ซ่ึงเป็นช่วงท่ีประเทศยุโรปตะวันตกเร่ิมฟื้นตัวจากความเสียหายหลังสงครามและญี่ปุ่นได้ก้าว
เข้ามามีบทบาทและอิทธิพลทางเศรษฐกิจ บรรษัทสัญชาติยุโรปและญ่ีปุ่นเริ่มเข้ามามีบทบาทและอิทธิพล
มากข้ึนในภูมิภาคต่างๆ การก้าวข้ึนมามีบทบาทของยุโรปตะวันตกและญ่ีปุ่นน้ีส่งผลให้สถานภาพของ
สหรัฐอเมริกาตกต�่ำลงเน่ืองจากภาวะขาดดุลในดุลการช�ำระเงินจึงท�ำให้มาตรฐานปริวรรตทองค�ำภายใต้
ขอ้ ตกลงเบรตตนั วดู สไ์ มส่ ามารถดำ� เนนิ การตอ่ ไปได้ สหรฐั อเมรกิ าตอ้ งออกจากมาตรฐานปรวิ รรตทองคำ�
ใน ค.ศ. 1971 จนทำ� ใหร้ ะบบเบรตตนั วดู ส์ ล่มสลายลง สืบเน่อื งมาจากฐานะทางเศรษฐกิจทีอ่ ่อนแอของ
สหรัฐอเมริกาที่ได้พลิกผันตัวเองจากการเป็นเจ้าหน้ีรายใหญ่ของโลกมาเป็นลูกหนี้รายใหญ่ สาเหตุของ
การตกต่�ำของฐานะทางการคลังของรัฐบาลสหรัฐยังเกิดจากการทุ่มเทการใช้จ่ายไปในด้านการสั่งสมอาวุธ
พัฒนาขดี ความสามารถทางการทหาร นอกจากนี้ สหรฐั อเมรกิ ายงั ขาดดลุ บญั ชเี ดนิ สะพดั อยา่ งเรอ้ื รงั จาก
การขาดดลุ การค้ากับประเทศต่างๆ โดยเฉพาะกบั ญปี่ นุ่
ผลกระทบของการออกจากมาตรฐานปริวรรตทองค�ำและการล่มลงของระบบเบรตตัน วูดส์และ
ความขดั แยง้ ในตะวนั ออกกลางระหวา่ งอสิ ราเอลกบั กลมุ่ ประเทศอาหรบั ซง่ึ ลว้ นแตเ่ ปน็ ผสู้ ง่ ออกนำ้� มนั รายใหญ่
8 GATT เป็นเพียงความตกลงพหุภาคีที่ไม่มีองค์กรบริหารของตัวเองและไม่มีกฎหมายระหว่างประเทศรองรับ ท�ำให้
ไม่สามารถด�ำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงแตกต่างจากจุดมุ่งหมายแรกของการตั้ง ITO ท่ีจะท�ำหน้าที่เป็นสถาบันระหว่าง
ประเทศในการบรหิ ารจดั การระเบียบการค้าระหวา่ งประเทศ