Page 38 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 38
3-28 ไทยในเศรษฐกจิ โลก
อุดมการณ์ระหว่างค่ายเสรีนิยมมีอุดมการณ์ทางการเมืองแบบเสรีนิยมและระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
นำ� โดยสหรฐั อเมรกิ า กบั คา่ ยสงั คมนยิ มทมี่ อี ดุ มการณท์ างการเมอื งแบบสงั คมนยิ มและระบบเศรษฐกิจแบบ
วางแผนและรวมศูนยจ์ ากสว่ นกลางน�ำโดยสหภาพโซเวียต
ภายหลงั การสนิ้ สดุ ลงของสงครามโลกครง้ั ที่ 2 มกี ารเปลยี่ นแปลงหลายอยา่ งเกดิ ขนึ้ ในบรบิ ทของ
เศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศ กลา่ วคอื ไดม้ กี ารจดั ตงั้ องคก์ ารสหประชาชาติ (United Nations: UN)
ขนึ้ ใน ค.ศ. 1945 อย่างไรกต็ าม ภายหลงั การสิน้ สดุ ลงของสงคราม ในชว่ งแรก ประเทศต่างๆ ในโลกถกู
แบง่ ออกเปน็ 3 กลมุ่ ใหญๆ่ กลมุ่ แรกคอื กลมุ่ ประเทศเสรนี ยิ มทนี่ ำ� โดยสหรฐั อเมรกิ าและประเทศยโุ รปตะวนั ตก
กลมุ่ ทสี่ องคอื ประเทศสงั คมนยิ มทน่ี �ำโดยสหภาพโซเวยี ตและประเทศยโุ รปตะวนั ออก และกลมุ่ ทส่ี าม ไดแ้ ก่
กลุ่มประเทศเกิดใหม่ท่ีเพิ่งแยกตัวเป็นอิสระหรือได้รับเอกราชมาจากอดีตประเทศอาณานิคมซึ่งต้องการ
ด�ำเนินนโยบายแบบอิสระ6 จึงรวมตัวกันอยู่ในรูปแบบของขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด (Non-Aligned
Movement: NAM) โดยด�ำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจแบบชาตินิยม อย่างไรก็ตาม ในช่วงต่อมาเม่ือ
ความขดั แยง้ และเผชญิ หนา้ กนั ระหวา่ ง 2 กลมุ่ ประเทศทมี่ คี วามแตกตา่ งกนั ในดา้ นอดุ มการณท์ างการเมอื ง
ทวีความเข้มข้นและรุนแรงขึ้น ประเทศต่างๆ ในกลุ่มประเทศเกิดใหม่ได้ถูกผลักดันให้เข้าไปสังกัดอยู่กับ
คา่ ยใดค่ายหนง่ึ ใน 2 ขัว้ อุดมการณ์
แม้ว่าสงครามเต็มรูปแบบอย่างสงครามโลกจะได้ยุติลงไปแล้ว แต่ความขัดแย้งและการแข่งขัน
ทางการเมืองและอุดมการณ์ระหวา่ ง 2 ข้ัวอดุ มการณ์ไดเ้ รม่ิ ขึน้ และทวคี วามเขม้ ขน้ ขน้ึ เปน็ ลำ� ดบั ตัวอยา่ ง
รูปธรรมของความขัดแย้งและแข่งขันดังกล่าว เช่น สหรัฐอเมริกาได้ด�ำเนินนโยบายสกัดกั้นคอมมิวนิสต์
(Communist Containment Policy) เน่ืองมาจากความกังวลต่อการขยายตัวของค่ายสังคมนิยมไปสู่
ประเทศยโุ รปตะวนั ออกและประเทศในภมู ภิ าคอน่ื ๆ ภายหลงั การสนิ้ สดุ สงคราม สหรฐั อเมรกิ าจงึ มนี โยบาย
ให้ความช่วยเหลือกับประเทศต่างๆ เร่ิมต้นจากการให้ความช่วยเหลือทางด้านการเงินเพ่ือท�ำการฟื้นฟู
ประเทศยุโรปตามแผนการมาร์แชล ซ่ึงต่อมาความช่วยเหลือทางการเงินและการทหารของสหรัฐอเมริกา
ขยายตวั ไปสภู่ มู ภิ าคตา่ งๆ ในโลกเพอื่ ทจ่ี ะทำ� การสกดั กนั้ การขยายตวั ของคา่ ยสงั คมนยิ มโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ
การจัดต้ังองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือหรือนาโตขึ้นใน ค.ศ. 1949 ในขณะท่ีสหภาพโซเวียตได้
ท�ำการตอบโต้ด้วยการจัดตั้งสภาเพื่อความช่วยเหลือซ่ึงกันและกันทางเศรษฐกิจ (The Council for
Mutual Economic Assistance: COMECON) ใน ค.ศ. 1949 และองค์การสนธิสัญญาวอร์ซอร์
(Warsaw Treaty Organization) ขึ้นใน ค.ศ. 1955
6 แนวคดิ แบบไมฝ่ กั ใฝฝ่ า่ ยใดนเ้ี กดิ ขน้ึ ตงั้ แตห่ ลงั สงครามโลกครงั้ ที่ 2 เรมิ่ ตน้ จากการทผ่ี แู้ ทนจำ� นวน 250 คนจากประเทศ
ตา่ งๆ ในเอเชยี 25 ประเทศไดม้ ารว่ มประชมุ กนั ทปี่ ระเทศอนิ เดยี เกย่ี วกบั ความสมั พนั ธข์ องประเทศในเอเชยี และเพอื่ สรา้ งอ�ำนาจของ
กลุ่มตนในเวทีการเมืองระหว่างประเทศ ต่อมาได้มีการประชุมระดับนายกรัฐมนตรีของ 5 ประเทศ ได้แก่ พม่า ศรีลังกา อินเดีย
ปากสี ถาน และอนิ โดนเิ ซยี ขน้ึ ณ กรงุ โคลมั โบ ประเทศศรลี งั กา การประชมุ ครงั้ นท้ี ปี่ ระชมุ ไดเ้ หน็ พอ้ งกนั วา่ จะตอ้ งจดั ใหม้ กี ารประชมุ
ประชาชาตเิ อเชยี และแอฟรกิ าขน้ึ อกี ครง้ั หนงึ่ ดงั นนั้ การประชมุ อนั เปน็ การผนกึ กำ� ลงั กนั ของประเทศโลกที่ 3 บนพน้ื ฐานของนโยบาย
แบบไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดจึงเริ่มต้นข้ึนท่ีกรุงบันดุง ประเทศอินโดนิเซียใน ค.ศ. 1955 และมีการจัดการประชุมกลุ่มประเทศโลกท่ี 3 ที่
ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดเร่ือยมา โดยการประชุมสุดยอดระดับประมุขของรัฐได้จัดขึ้นเป็นคร้ังแรกใน ค.ศ. 1961 ที่กรุงเบลเกรด ประเทศ
ยูโกสลาเวยี