Page 39 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 39

ประเทศไทยกับเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ 3-29
       อยา่ งไรกต็ าม การตอ่ สแู้ ละแขง่ ขนั กนั ระหวา่ งสองคา่ ยอดุ มการณใ์ นดา้ นตา่ งๆ ไมว่ า่ จะดา้ นการเมอื ง
เศรษฐกิจ การทหาร หรือการโฆษณาชวนเชื่อ เป็นเพียงการช่วงชิงและถ่วงดุลอ�ำนาจกันแต่หลีกเล่ียง
การเผชิญหน้ากันเพ่ือไม่ให้ปะทุเป็นสงคราม เนื่องจากการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ท�ำให้ถ้าเกิดสงคราม
กส็ ามารถสง่ ผลเสยี หายจนเกนิ ทจี่ ะควบคมุ ไวไ้ ด้ การเผชญิ หนา้ และความตงึ เครยี ดระหวา่ ง 2 คา่ ยอดุ มการณ์
จึงตกอยู่ภายใต้ดุลแหง่ ความหวาดกลัวแบบทีเ่ รียกวา่ สงครามเย็น
       หลัง ค.ศ. 1945 สหรัฐอเมรกิ าได้ขึน้ มาเป็นมหาอ�ำนาจน�ำของคา่ ยเสรนี ิยมท่ีสนับสนนุ อุดมการณ์
ทางการเมืองและนโยบายทางการเมืองแบบเสรีนิยม รวมถึงมีบทบาทส�ำคัญในการจัดระเบียบเศรษฐกิจ
การเมอื งระหวา่ งประเทศภายหลงั สงครามฯ ดว้ ยความรว่ มมอื กนั กบั ประเทศพนั ธมติ รคอื กลมุ่ ประเทศยโุ รป
ตะวันตกและญ่ีปุ่น จากบทเรียนที่ได้เรียนรู้มาจากช่วง 30 ปีก่อนหน้านี้คือช่วงระหว่างการส้ินสุดลงของ
สงครามโลกครั้งที่ 1 จนถึงการส้ินสุดลงของสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ด้วยความหวาดกลัวว่าระบบเศรษฐกิจ
โลกที่ด�ำเนินไปโดยปราศจากกฎกติกาจะท�ำให้โลกกลับเข้าสู่ภาวะเศรษฐกิจตกต่�ำอย่างท่ีเคยเกิดขึ้นเมื่อ
ทศวรรษ 1930 ดงั นนั้ บทบาททสี่ ำ� คญั ของมหาอำ� นาจนำ� คา่ ยเสรนี ยิ มกค็ อื การจดั ระเบยี บเศรษฐกจิ การเมอื ง
ระหวา่ งประเทศใหเ้ กดิ ขนึ้ เพอื่ สรา้ งเสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ การเมอื งโลกดว้ ยการน�ำระบบเศรษฐกจิ ระหวา่ ง
ประเทศกลบั ไปสรู่ ะเบยี บเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศแบบเสรนี ยิ มทมี่ คี วามเชอ่ื มโยงกนั กนั อยา่ งสงู ทง้ั ทางการคา้
การเงิน และการลงทุน เหมอื นก่อนสงครามโลกครง้ั ที่ 1
       ภายหลังสงคราม การจัดระเบียบและกรอบกติกาของระเบียบเศรษฐกิจโลกได้ถูกก�ำหนดด้วย
ความตกลงระหวา่ งประเทศต่างๆ ท่ชี นะสงครามโดยเฉพาะสหรฐั อเมริกาและอังกฤษที่เบรตตนั วูดส7์ ใน
ช่วง ค.ศ. 1941-1944 เน่ืองจากประเทศสว่ นใหญ่ในยุโรปตอ้ งการการฟื้นฟูทางเศรษฐกจิ ในขณะท่กี ารคา้
ระหวา่ งประเทศยงั ไรก้ ฎกตกิ า ทำ� ใหต้ อ้ งมกี ารจดั ระเบยี บเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศใหก้ ลบั มาอยใู่ นแนวทาง
ของเสรนี ยิ ม โดยเชอ่ื มนั่ วา่ แนวทางดงั กลา่ วจะกอ่ ใหเ้ กดิ เสถยี รภาพรวมถงึ สนบั สนนุ อำ� นาจและผลประโยชน์
ของค่ายเสรีนิยม พร้อมๆ ไปกับการสร้างระเบียบทางการเงินผ่านการใช้มาตรฐานปริวรรตทองค�ำของ
สหรัฐอเมริกาโดยยนิ ยอมให้ผ้ทู ่ถี ือเงนิ ดอลลารส์ หรัฐ น�ำเงินดอลลารส์ หรฐั มาแลกเปน็ ทองคำ� ได้ตามราคา
ทกี่ ำ� หนดไวโ้ ดยไมจ่ ำ� กดั จำ� นวน ระเบยี บเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศในชว่ งนจ้ี งึ มสี หรฐั อเมรกิ าเปน็
มหาอำ� นาจแตเ่ พยี งประเทศเดยี วแบบทเี่ รยี กวา่ สนั ตภิ าพทมี่ อี เมรกิ าเปน็ มหาอำ� นาจ และถกู ขนานนามวา่
ระบบเบรตตนั วดู ส์ โดยการวางแผนจดั ตง้ั องคก์ รระหวา่ งประเทศขนึ้ 3 องคก์ าร คอื องคก์ ารทจี่ ดั การควบคมุ
ทางการเงนิ หรอื กองทนุ การเงนิ ระหวา่ งประเทศ องคก์ ารทดี่ แู ลใหเ้ งนิ กเู้ พอื่ ฟน้ื ฟเู ศรษฐกจิ ไดแ้ ก่ ธนาคาร
ระหว่างประเทศเพ่ือการบูรณะและพัฒนาหรือธนาคารโลก และองค์การท่ีควบคุมระเบียบการค้า ได้แก่
องค์การการค้าระหว่างประเทศ อย่างไรก็ตาม ความพยายามดังกล่าวประสบผลส�ำเร็จเพียง 2 ส่วนคือ

         7 นกั เศรษฐศาสตรท์ วี่ างโครงสรา้ งของระเบยี บเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศหลงั สงครามโลกครงั้ ท่ี 2 เชน่ จอหน์ เมนารด์ เคนส์
(John Maynard Keynes) พจิ ารณาวา่ เพอื่ ที่จะทำ� การประกันไม่ใช้เศรษฐกจิ โลกเข้าสู่ภาวะตกตำ�่  เกดิ ชาตนิ ยิ มทางเศรษฐกจิ และ
ความขดั แยง้ กนั อยา่ งทเ่ี คยเกดิ กอ่ นหนา้ สงคามโลกครง้ั ท่ี 1 ระเบยี บเศรษฐกจิ ทจ่ี ดั ตง้ั ขน้ึ ตอ้ งหวนกลบั ไปเปน็ ระบบเศรษฐกจิ แบบเปดิ
และบรู ณาการเศรษฐกจิ ของทกุ ประเทศเขา้ ดว้ ยกนั ดว้ ยการคา้ อยา่ งทเี่ คยเปน็ อยใู่ นชว่ งตน้ ของครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 19 ดว้ ยเหตนุ ้ี รากฐาน
ของระเบียบเศรษฐกิจการเมืองโลกหลังสงครามโลกคร้ังท่ี 2 จึงตั้งอยู่บนแนวทางของเสรีนิยมโดยเฉพาะการจัดให้มีการค้าเสรีและ
สรา้ งใหเ้ กิดการคา้ ในระดับโลก
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44