Page 48 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 48
3-38 ไทยในเศรษฐกจิ โลก
สว่ นทฤษฎพี ง่ึ พงิ ทส่ี ะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ปญั หาในเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศหลงั สงครามโลก
ครงั้ ท่ี 2 เป็นแนวคิดที่ถูกพฒั นาข้ึนในช่วง ค.ศ. 1960-1970 หลังจากท่ีอดีตประเทศอาณานคิ มส่วนใหญ่
ไดเ้ อกราชทางการเมอื งจากประเทศเจา้ อาณานคิ มเนอ่ื งจากเกดิ ปรากฏการณท์ ชี่ ใี้ หเ้ หน็ วา่ การไดเ้ อกราช
ทางการเมืองการปกครองไม่ได้น�ำมาซ่ึงการเป็นอิสระทางด้านเศรษฐกิจ เพราะอดีตประเทศอาณานิคม
ซึ่งด้อยพัฒนาเหล่าน้ีต้องพ่ึงพิงอดีตเจ้าอาณานิคมทั้งทางเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศในรูปแบบท่ี
เรียกว่าอาณานคิ มใหม่ (Neo-Colonial Patterns of Dependence) แนวคดิ นีม้ ตี ้นกำ� เนิดมาจากนักคิด
ในภูมิภาคลาตนิ อเมริกาเนื่องจากการตระหนักถงึ ปัญหาความดอ้ ยพัฒนา (Underdevelopment) เรอ้ื รงั
ของประเทศต่างๆ ในภูมิภาคนี้ว่ามีที่มาจากโครงสร้างความสัมพันธ์ของระบบทุนนิยมโลกระหว่างกลุ่ม
ประเทศพฒั นาแลว้ กบั กลมุ่ ประเทศกำ� ลงั พฒั นาในรปู แบบของการพง่ึ พงิ กนั ไมไ่ ดเ้ กดิ จากปญั หาโครงสรา้ ง
ทางการเมอื ง เศรษฐกจิ สงั คมในประเทศกำ� ลงั พฒั นาอยา่ งทเี่ ขา้ ใจกนั รปู แบบของการพงึ่ พงิ อยใู่ นรปู แบบ
ที่ประเทศที่พัฒนาแล้วเอารัดเอาเปรียบ ขูดรีด และดูดซับเอาส่วนเกินจากประเทศก�ำลังพัฒนาไปสร้าง
ความมง่ั คง่ั ใหก้ บั ตนเอง ซงึ่ เปน็ สาเหตขุ องความดอ้ ยพฒั นาเรอื้ รงั ในประเทศกำ� ลงั พฒั นาทงั้ หลาย รปู แบบ
ของการพึ่งพงิ เช่น การแบ่งงานกันท�ำระหวา่ งประเทศท่ใี หป้ ระเทศก�ำลังพัฒนาผลติ สนิ ค้าประเภทอาหาร
และวตั ถุดิบขณะที่ประเทศพฒั นาแลว้ ผลติ สินคา้ อตุ สาหกรรม เม่อื มกี ารค้าและการแลกเปลีย่ นระหวา่ งกัน
อตั ราการคา้ ของประเทศกำ� ลงั พฒั นามีมลู คา่ เสียเปรียบมากข้นึ เรอ่ื ยๆ เม่ือเปรยี บเทียบกับประเทศพฒั นา
แลว้ เพราะราคาสนิ คา้ ทเี่ ปน็ วัตถดุ บิ มมี ูลคา่ ต�่ำวา่ ราคาของสนิ ค้าอุตสาหกรรม
นอกจากนี้ ประเดน็ การพงึ่ พงิ ของประเทศกำ� ลงั พฒั นายงั สะทอ้ นผา่ นแนวคดิ ของนกั เศรษฐศาสตร์
ในคณะกรรมาธกิ ารเศรษฐกจิ สำ� หรบั ลาตนิ อเมรกิ าของสหประชาชาตอิ ยา่ ง ราอลู พรบี ชิ (Rual Prebisch)
ทพ่ี ิจารณาวา่ ประเทศในโลกนี้สามารถแบง่ ออกเป็น 2 กลุ่มคอื ประเทศแกนกลาง (Core) ไดแ้ ก่ประเทศ
พฒั นาแล้ว กบั ประเทศรอบนอก (Periphery) ซึง่ ได้แก่ประเทศก�ำลงั พัฒนา ความสัมพันธด์ า้ นเศรษฐกิจ
และการคา้ ระหวา่ งประเทศระหวา่ ง 2 กลมุ่ นอ้ี ยใู่ นรปู แบบทป่ี ระเทศแกนกลางเขา้ ไปกอบโกยผลประโยชน์
ด้านต่างๆ จากประเทศรอบนอก ส่งผลให้ประเทศรอบนอกไม่สามารถพัฒนาตนเองออกจากความด้อย
พัฒนา ตกอยู่ในสภาพที่ต้องพ่ึงพิงประเทศศูนยก์ ลางท้ังด้านการตลาดและเงนิ ทนุ ในลกั ษณะท่เี สียเปรยี บ
ประเทศศนู ยก์ ลางจงึ มอี ำ� นาจในการตอ่ รองสงู กวา่ ประเทศรอบนอกอยา่ งมาก ผลประโยชนใ์ นความสมั พนั ธ์
ทางเศรษฐกจิ และการค้าจงึ ตกอย่กู บั ประเทศศูนย์กลาง
การพง่ึ พาทป่ี ระเทศกำ� ลงั พฒั นาอยา่ งไทยมตี อ่ ประเทศทพี่ ฒั นาแลว้ สะทอ้ นใหเ้ หน็ ผา่ นการพงึ่ พงิ
ทางดา้ นการค้าและการเงินผา่ นโครงสรา้ งการค้าและการลงทนุ ระหว่างประเทศของไทย โดยเมอ่ื พิจารณา
การพงึ่ พงิ ทางดา้ นการคา้ จะเหน็ ไดว้ า่ ไทยมอี ตั ราการเปดิ ประเทศหรอื การพงึ่ พงิ การคา้ ระหวา่ งประเทศอยู่
ในระดบั ทสี่ งู ขน้ึ เรอ่ื ยๆ โดยในระยะแรกของการพฒั นา รฐั บาลไทยไดเ้ รม่ิ ใชน้ โยบายการพฒั นาอตุ สาหกรรม
เพื่อทดแทนการน�ำเข้า แต่หลัง พ.ศ. 2515 เป็นต้นมา ไทยได้หันมาใช้นโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรม
เพอื่ การสง่ ออก ซึง่ แนวนโยบายท้ัง 2 นต้ี ่างมผี ลใหข้ นาดของการเปดิ ประเทศกวา้ งขึ้น โดยทีม่ ลู คา่ สินค้า
และบริการของไทยท่ีซ้ือขายกันระหว่างประเทศได้เพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็วจากร้อยละ 34.9 ของผลิตภัณฑ์
มวลรวมภายในประเทศ ใน พ.ศ. 2503 มาเปน็ ร้อยละ 46.0 ใน พ.ศ. 2524 ร้อยละ 50.6 ใน พ.ศ. 2530
และสัดส่วนดังกล่าวเพิ่มสูงข้ึนถึงร้อยละ 102.9 ใน พ.ศ. 2542 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ