Page 53 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 53

ประเทศไทยกบั เศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ 3-43
รวมถงึ นโยบายแบบรฐั สวสั ดกิ าร เนอื่ งจากการขาดดลุ งบประมาณและความไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพในการแกป้ ญั หา
เศรษฐกจิ จงึ หวนกลับไปใชน้ โยบายแบบเสรนี ยิ มอกี ครั้ง

       แนวทางการดำ� เนนิ นโยบายแบบเสรนี ยิ มใหมม่ รี ากฐานมาจากแนวคดิ แบบเสรนี ยิ มแบบคลาสสกิ
ท่ีให้ความส�ำคัญกับการท�ำงานของกลไกราคาท่ีเปรียบเสมือนมือที่มองไม่เห็นว่าจะท�ำให้เกิดการจัดสรร
ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดโดยภาครัฐไม่ควรจะเข้าไปแทรกแซงหรือถ้าจะแทรกแซงก็ต้องมี
บทบาทเทา่ ทจี่ ำ� เปน็ ใหน้ อ้ ยทสี่ ดุ คอื รกั ษาความสงบภายในประเทศ ปกปอ้ งคมุ้ ครองประเทศจากการรกุ ราน
ภายนอกและจัดหาสาธารณูปโภคทีจ่ �ำเป็น แนวคิดเสรนี ยิ มใหม่วางรากฐานอยูบ่ นปรัชญาของนักปรัชญา
และนักเศรษฐศาสตร์ชาวออสเตรีย ฟริดริช ฟอน ฮาเยค และก่อรูปมาจากการรวมกลุ่มและเผยแพร่ความ
คิดแบบเสรีนยิ มของกลุ่มที่เรียกวา่ the Mont Pelerin Society ซึง่ เป็นกลุ่มทนี่ ยิ มชมชอบและเชอ่ื มนั่ ใน
ปรชั ญาแบบเสรนี ยิ มและรวมตวั มาตงั้ แต่ ค.ศ. 1947 โดยใชเ้ วลากวา่ 3 ทศวรรษในการเผยแพรอ่ ดุ มการณ์
และแนวคดิ แบบเสรนี ยิ มใหมใ่ หเ้ ปน็ ทย่ี อมรบั และรจู้ กั กนั ทงั้ ในแวดวงวชิ าการและผกู้ ำ� หนดนโยบายภาครฐั
ระเบียบเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศแบบเสรีนิยมใหม่จึงเร่ิมต้นข้ึนจากการด�ำเนินนโยบายของ 2
ประเทศมหาอำ� นาจคือประเทศองั กฤษ และสหรฐั อเมริกา ตอนปลายทศวรรษ 1970

       แนวนโยบายหลกั ๆ ของแนวคิดแบบเสรีนิยมใหม่ ได้แก่ การยกเลกิ กฎเกณฑ์และระเบียบต่างๆ
ของภาครฐั การแปรรปู รฐั วิสาหกจิ การลดอำ� นาจของสหภาพแรงงานผ่านการลดจำ� นวนและบทบาทของ
สหภาพแรงงาน การตัดสวัสดิการต่างๆ ของภาครัฐ การลดภาษีผลก�ำไรของทุนและลดภาษีรายได้ของ
แรงงาน เพ่ือกระตุ้นให้เกิดแรงจูงใจในการผลิตผ่านนโยบายทางด้านอุปทาน (Supply Side) เป็นต้น
ระเบียบเศรษฐกิจการเมืองแบบเสรีนิยมใหม่ด�ำเนินการต่อเน่ืองเร่ือยมาในยุคหลังสงครามเย็น จนกลาย
เป็นแนวทางเดียวท่ีมีอยู่ในโลกในยุคหลังสงครามเย็นอย่างที่ อดีตนายกรัฐมนตรีหญิงเหล็กของอังกฤษ
แทตเชอร์ได้ประกาศไว้อย่างเชื่อม่ันว่า “ไม่มีทางเลือกอื่นเหลืออยู่อีกแล้ว” (There is no alternative:
TINA) ดังน้ันทุกประเทศจะต้องเดินตามเส้นทางของเสรีนิยมใหม่เท่านั้น แนวคิดน้ีขยายตัวออกไปเป็น
แนวนโยบายในระดบั โลกในอกี ทศวรรษตอ่ มาใน ค.ศ. 1989 ผา่ นฉนั ทมตวิ อชงิ ตนั 15 ซงึ่ เปน็ ชดุ ของนโยบาย
ทสี่ ถาบนั โลกบาลอยา่ งองคก์ รการเงนิ ระหวา่ งประเทศและธนาคารโลกเสนอเปน็ เงอ่ื นไขใหป้ ระเทศกำ� ลงั พฒั นา
ต่างๆ น�ำเอาไปใช้เม่ือประเทศก�ำลังพัฒนาเหล่านี้ต้องการกู้ยืมเงินจากทั้ง 2 สถาบันดังกล่าวโดย สาระ

         15 ฉนั ทมตวิ อชงิ ตนั เปน็ วลที ถ่ี กู บญั ญตั ขิ น้ึ ใน ค.ศ. 1989 โดย จอหน์ วลิ เลยี มสนั (John Williamson) นกั เศรษฐศาสตร์
แหง่ สถาบนั เพอื่ เศรษฐศาสตรร์ ะหวา่ งประเทศ (The Institute for Internationa Economics) ซง่ึ ตง้ั อยู่ ณ กรงุ วอชงิ ตนั ด.ี ซ.ี ประเทศ
สหรัฐอเมริกา เพื่อระดมความคิดเห็นจากนักเศรษฐศาสตร์ท่ีมีบทบาทในการก�ำหนดนโยบายของสหรัฐอเมริกาเพื่อน�ำเสนอชุดของ
นโยบาย 10 ข้อ ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศในภูมิภาคลาตินอเมริกา โดยเชื่อว่านโยบายต่างๆ ภายใต้ฉันทมติ
ฉบับน้ีจะเป็นกุญแจส�ำคัญท่ีท�ำให้ประเทศลาตินอเมริกาฟื้นตัวจากวิกฤติการณ์ทางการเงินในช่วงทศวรรษ 1980 อย่างไรก็ตาม ใน
ท้ายที่สุดฉันทมติวอชิงตันกลายเป็นแนวทางหลักและนโยบายร่วมทางเศรษฐกิจของสถาบันและองค์การระหว่างประเทศอันต้ังอยู่
ณ กรุงวอชิงตันในขณะนั้น อาทิ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ ธนาคารโลก และ กระทรวงการคลังแห่งสหรัฐอเมริกาในการ
แกป้ ญั หาเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศอนั รวมไปถงึ การลม่ สลายของกลมุ่ ประเทศสหภาพโซเวียต
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58