Page 55 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 55

ประเทศไทยกับเศรษฐกิจการเมอื งระหว่างประเทศ 3-45
ลดลงจนมอี ัตราการเพิม่ ขนึ้ เปน็ 0 ใน พ.ศ. 2539 สว่ นตวั เลขหนีต้ า่ งประเทศมีมลู ค่าเพิม่ สูงข้นึ ถึง 89,000
ล้านดอลลารส์ หรัฐ ซึ่งเกอื บร้อยละ 80 เปน็ หนภ้ี าคเอกชน ขณะเดยี วกบั ท่ีการขาดดลุ บัญชเี ดินสะพัดซง่ึ
เป็นดัชนีที่ช้ีว่าประเทศมีศักยภาพในการใช้คืนหน้ีได้ในระยะยาวก็เพิ่มสูงข้ึน ท�ำให้ความเช่ือมั่นของ
นกั ลงทนุ ลดลง สง่ ผลใหเ้ กดิ การเคลอ่ื นยา้ ยทนุ ออกนอกประเทศ ความกดดนั ทตี่ อ้ งลดคา่ เงนิ บาทเพม่ิ สงู ขนึ้
ประกอบกับต้องเผชิญกบั การเกง็ ก�ำไรคา่ เงนิ บาทจากกลุ่มนักเก็งกำ� ไรขา้ มชาติ เน่อื งจากคาดการณว์ ่าใน
ท่ีสุดแล้วรัฐบาลไทยจะต้องลดค่าเงินบาทในท่ีสุด การเข้าไปพยายามปกป้องค่าเงินบาทของธนาคารแห่ง
ประเทศไทยด้วยการขายเงินดอลลาร์สหรัฐเพ่ือรักษาเสถียรภาพของเงินบาทเอาไว้ เป็นการต่อสู้กับ
การเกง็ กำ� ไรและการโจมตคี า่ เงนิ บาทถงึ 2 ครง้ั จากกองทนุ ทเี่ รยี กวา่ เฮดจฟ์ นั ด1์ 7 (Hedge Fund) ทำ� ให้
เงนิ ส�ำรองระหว่างประเทศลดลงจาก 39,000 ล้านดอลลารส์ หรัฐ ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2540 เหลืออยู่
เพียง 2,800 ล้านดอลลาร์สหรัฐในวันท่ีประเทศไทยประกาศเปลี่ยนระบบอัตราแลกเปลี่ยนจากแบบคงที่
(Fixed exchange rate) ไปเป็นระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัวภายใต้การจัดการ (managed
floating exchange rate) ในวนั ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 จนต้องขอให้กองทนุ การเงินระหวา่ งประเทศ
เขา้ มาชว่ ยเหลอื โดยเขา้ รว่ มโครงการเงนิ กฉู้ กุ เฉนิ (Standby Ageement) เพอื่ กอบกสู้ ถานะของทนุ สำ� รอง
ระหว่างประเทศและสรา้ งความเชื่อม่นั ต่อระบบเศรษฐกจิ ไทยให้แก่นกั ลงทนุ และเจ้าหนีต้ า่ งประเทศ

       ปัญหาเศรษฐกิจท่ีเข้าใจกันในเบ้ืองต้นว่าเป็นปัญหาของความผิดพลาดในการบริหารจัดการของ
สถาบันการเงินไทยได้ลุกลามเป็นปัญหาเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคท�ำให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจตามมาใน
เกาหลใี ต้ มาเลเซยี ฟลิ ลปิ ปนิ ส์ และอนิ โดนเิ ซยี วกิ ฤตการณท์ เี่ กดิ ขน้ึ นี้ นอกจากจะสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ปญั หา
เรื้อรังของโครงสร้างเศรษฐกิจไทยแล้ว ยังเป็นการแสดงให้เห็นถึงปัญหาความไร้เสถียรภาพของระบบ
ทนุ นยิ มโลกในยคุ หลงั สงครามเยน็ ทไ่ี ม่สามารถดแู ลและควบคมุ บทบาทของทนุ คาสโิ นอกี ด้วย

       แมว้ า่ ระเบยี บเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศในชว่ งหลงั สงครามเยน็ จะอยใู่ นรปู แบบเสรนี ยิ มใหมท่ เ่ี นน้
การร่วมมอื ในลกั ษณะพหภุ าคี (Multilateral agreements) ระหวา่ งประเทศสมาชกิ ขององคก์ รโลกบาล
ตา่ งๆ แตก่ ไ็ มไ่ ดห้ มายความวา่ ความรว่ มมอื ในรปู แบบอน่ื ๆ จะลดทอนความสำ� คญั ลงโดยเฉพาะความรว่ มมอื
ในภูมิภาคทางด้านการค้า (Regional Trade Agreement) จ�ำนวนความร่วมมือทางภูมิภาคในด้าน
การค้าเพ่ิมจ�ำนวนข้ึนอย่างรวดเร็วในช่วงปลายของศตวรรษที่ 20 กล่าวคือ จากการเก็บข้อมูลของความ
ตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า (GATT) ช่วงระหว่าง ค.ศ. 1948 ถึง 1994 น้ัน จ�ำนวน
ความร่วมมือทางการค้าในภูมิภาคต่างๆ มีจ�ำนวน 124 ความร่วมมือ แต่ในระหว่างเดือนมกราคม ค.ศ.
1995 ถึงธันวาคม ค.ศ. 2008 จากการรวบรวมข้อมูลขององค์การการค้าโลก (WTO) มีความร่วมมือ
ทางการคา้ ระหวา่ งภมู ภิ าคจ�ำนวน 297 ขอ้ ตกลง (O’Brien and Marc, 2010) ตวั อย่างของความรว่ มมือ
ทางการค้าในภมู ิภาค เช่น ขอ้ ตกลงการคา้ เสรีอเมรกิ าเหนอื (NAFTA) กลุ่มความรว่ มมือทางเศรษฐกจิ
ของประเทศในภูมิภาคอเมริกาใต้ (MERCOSUR หรือ South Cone Common Market) เขตการคา้
เสรอี าเซยี น (AFTA) เป็นต้น

         17 เฮดจ์ฟันด์ เป็น กองทุนประเภทหน่ึงท่ีมีจุดมุ่งหมายในการบริหารเพื่อให้ได้ผลตอบแทนหรือก�ำไรให้มากที่สุดโดยใช้
เครอื่ งมอื ทางการเงนิ ทห่ี ลากหลายและซบั ซ้อน เช่น ตราสารอนุพันธต์ ่างๆ เป็นต้น
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60