Page 54 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 54
3-44 ไทยในเศรษฐกจิ โลก
สำ� คัญของนโยบายหรือมาตรการต่างๆ ของฉันทมติวอชงิ ตัน สามารถสรปุ ได้ด้วยคำ� ลงท้ายดว้ ย –ation
4 คำ� 16 คือ
1. การเปิดเสรที างเศรษฐกิจโดยเฉพาะการเปดิ เสรีทางการค้า การเงิน และการลงทุน (Libea-
lization)
2. การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจด้วยการลดการขาดดุลงบประมาณและการแทรกแซงของ
ภาครัฐ (Stabilization)
3. การเปลย่ี นผา่ นการผลิตหรอื ความเป็นเจ้าของจากรัฐไปสู่เอกชน (Privatization)
4. การลดระดบั การควบคมุ และจำ� กดั การดำ� เนนิ งานตา่ งๆ ทก่ี ระทำ� โดยภาครฐั (Deregulation)
แนวนโยบายแบบเสรนี ยิ มใหมน่ สี้ ง่ ผลใหร้ ะบบเศรษฐกจิ ของประเทศตา่ งๆ ทง้ั ประเทศพฒั นาแลว้
และกำ� ลงั พัฒนาเชอ่ื มโยงกันมากข้นึ เรือ่ ยๆ ผ่านการผลิต การคา้ การลงทนุ และการเงนิ ระหว่างประเทศ
พรอ้ มๆ ไปกบั การปฏวิ ตั ทิ างเทคโนโลยคี มนาคมสอื่ สารและสารสนเทศโดยเฉพาะการพฒั นาระบบเครอื ขา่ ย
อนิ เทอรเ์ นต็ ทำ� ใหต้ น้ ทนุ ในการคมนาคมสอ่ื สารลดลง เกดิ การยน่ ยอ่ ของเวลาและสถานทน่ี ำ� ไปสโู่ ลกาภวิ ตั น์
ทางเศรษฐกจิ ทท่ี นุ ขนาดใหญอ่ ยา่ งบรรษทั ขา้ มชาตสิ ามารถเคลอ่ื นยา้ ยเงนิ ทนุ เขา้ ไปลงทนุ ทำ� การผลติ และ
แสวงหาก�ำไรได้อยา่ งไม่มีข้อจ�ำกัดทางพรมแดนของรัฐ
บทบาทของทุนในยุคนไี้ ม่เพียงแต่ทำ� การควบคุมกระบวนการผลติ และแสวงหากำ� ไรจากการผลิต
เท่าน้ัน แต่ยังเข้าไปควบคุมกระบวนการส่งป้อนวัตถุดิบ กระบวนการขาย กระบวนการขนส่ง และ
กระบวนการคน้ ควา้ วจิ ยั ผา่ นสงิ่ ทเี่ รยี กวา่ ระบบหว่ งโซอ่ ปุ าทาน ระบบเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศนอกจาก
จะมคี วามเชอ่ื มโยงทางดา้ นการคา้ การเงนิ และการลงทนุ แลว้ มติ ทิ ซ่ี บั ซอ้ นมากยงิ่ ขน้ึ กค็ อื ความพยายาม
ท่ีจะเปลี่ยนวัฒนธรรมและคุณค่าต่างๆ ให้กลายเป็นสินค้าท่ีสามารถซ้ือขายส่งทอดจากประเทศหนึ่งไปสู่
อกี ประเทศหนง่ึ ในรปู แบบของทนุ วฒั นธรรม
นอกจากน้ี ทนุ ยงั ไดพ้ ัฒนาการกา้ วข้ามจากทุนการผลิตไปเป็นทนุ แบบเกง็ ก�ำไรทเี่ รียกกนั วา่ ทนุ
คาสิโน (casino capitalism) ซ่ึงแตกต่างจากรูปแบบของการสะสมทุนในอดีตท่ีหัวใจของระบบทุนนิยม
อยทู่ ก่ี ารพฒั นาประสทิ ธภิ าพการผลติ และสรา้ งกำ� ไรจากประสทิ ธภิ าพการผลติ แตท่ นุ คาสโิ นอาศยั การแสวงหา
ผลก�ำไรจากการเก็งก�ำไรท่ีไม่ได้อิงอยู่กับฐานการผลิตจริงไม่ว่าจะเป็นการเก็งก�ำไรจากความผันผวนของ
คา่ เงนิ และตราสารทางการเงนิ การสรา้ งฟองสบใู่ นตลาดหนุ้ และอสงั หารมิ ทรพั ย์ เงนิ ทเี่ คยเปน็ สอื่ กลางใน
การแลกเปลี่ยนได้แปรเปลี่ยนบทบาทกลายเป็นสินค้าประเภทหน่ึงที่สามารถซ้ือขายและเก็งก�ำไรได้ และ
ในเวลาเดียวกันก็สามารถน�ำไปใช้เป็นอาวุธประเภทหนึ่งในการด�ำเนินสงครามเศรษฐกิจกับประเทศใด
ประเทศหนึ่งท่ีมีความอ่อนแอทางด้านเศรษฐกิจมหภาคด้วยการโจมตีค่าเงิน ตัวอย่างของการด�ำเนินการ
ของทนุ คาสโิ น เช่น วกิ ฤตการณ์ต้มยำ� กงุ้ ท่มี ีจดุ เริ่มต้นจากประเทศไทยใน พ.ศ. 2540
วิกฤตการณ์ต้มย�ำกุ้ง เกิดขึ้นเนื่องมาจากความอ่อนแอทางเศรษฐกิจมหภาคของไทย กลา่ วคอื
การสูญเสียความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลกโดยการเจริญเติบโตของภาคการส่งออกของไทย
16 อ่านเพิ่มเติมใน Summers, Lawrence and Pritchett, Lant. “The Structural Adjustment Debate.”
American Economics Review, 82(3), May 1993: 383-389.