Page 59 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 59

ประเทศไทยกบั เศรษฐกิจการเมอื งระหวา่ งประเทศ 3-49

ประเทศอนื่ ๆ ทมี่ ตี น้ ทนุ ต่�ำกวา่ โดยเฉพาะอตุ สาหกรรมทใ่ี ชแ้ รงงานเขม้ ขน้ ตา่ งพากนั ยา้ ยฐานการผลติ มาสู่
ประเทศในกลมุ่ อาเซยี น (ASEAN)18 รวมถงึ ประเทศไทยดว้ ย ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากปรมิ าณการลงทนุ โดยตรง
(FDI) จากต่างประเทศท่ีเพิ่มข้ึนอย่างมาก โดยประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศที่มีเงินลงทุนสูงสุด กล่าวคือ
เงนิ ลงทนุ สทุ ธจิ ากญปี่ นุ่ มมี ลู คา่ เฉลยี่ 1.7 พนั ลา้ นบาทตอ่ ปรี ะหวา่ ง พ.ศ. 2523 ถงึ 2528 ไดเ้ พมิ่ ขนึ้ โดยเฉลยี่
เปน็ ปลี ะ 14.3 พนั ลา้ นบาทในช่วง พ.ศ. 2529-2536 และเมื่อพจิ ารณาโดยรวมแล้วจะเห็นว่า 2 ใน 3 ของ
เงนิ ทนุ จากตา่ งประเทศทง้ั หมดมาจากลมุ่ ประเทศอตุ สาหกรรมใหมข่ องเอเชยี อยา่ ง ไตห้ วนั เกาหลใี ต้ และ
สงิ คโปร์

       อยา่ งไรกต็ าม แบบแผนการพฒั นาอตุ สาหกรรมของไทยชว่ ง พ.ศ. 2530–2540 นนั้ เนน้ การพฒั นา
อุตสาหกรรมทอี่ าศยั จากการลงทุนจากต่างประเทศ คือใชท้ ุนมาก ท�ำใหก้ ารสรา้ งงานเกิดขนึ้ ได้ลา่ ช้ากว่า
และถกู กำ� หนดโดยสภาวะของเศรษฐกจิ โลกมากกวา่ ทจ่ี ะถกู กำ� หนดจากนกั ลงทนุ หรอื ผกู้ ำ� หนดนโยบายใน
ประเทศ โดยเฉพาะการผกู ตดิ กบั แนวนโยบายตามฉนั ทมตวิ อชงิ ตนั ในชว่ งแรกเศรษฐกจิ ไทยยงั คงเตบิ โต
ไปได้อย่างสม�่ำเสมอเน่ืองจากภาคการเงินและภาคเศรษฐกิจจริงยังคงสามารถเช่ือมโยงและสนับสนุน
ซึ่งกันและกันได้ แต่ภายหลังจากการเปิดเสรี การไหลเข้าออกของทุนอันเน่ืองมาจากอิทธิพลของกระแส
เสรนี ยิ มใหมแ่ ละการผลกั ดนั ขององคก์ ารระหวา่ งประเทศอยา่ งกองทนุ การเงนิ ระหวา่ งประเทศและธนาคารโลก
ทำ� ใหป้ ระเทศไทยทำ� การเปดิ เสรที นุ ผา่ นระบบวเิ ทศธนกจิ กจิ การวเิ ทศธนกจิ ของไทย หรอื BIBF (Bangkok
Intenational Banking Facilities) ถูกจัดต้ังข้ึนใน พ.ศ. 2536 ส่งผลให้เงินทุนท่ีมีต้นทุนดอกเบี้ยต่�ำ
จำ� นวนมากไหลเขา้ มาสปู่ ระเทศไทยโดยไมส่ ามารถทจี่ ะสรา้ งความเชอ่ื มโยงและสนบั สนนุ ภาคการผลติ จรงิ
ไดอ้ ยา่ งสอดคล้องกัน จึงเกิดภาวะฟองสบ่ทู างเศรษฐกิจ (bubble economy) ข้ึน

       ภาวะฟองสบู่ท่ีเกิดข้ึนจากการเก็งก�ำไรซ่ึงไม่ได้มีฐานการผลิตจริงรองรับจนท�ำให้มูลค่าของ
สนิ ทรพั ยใ์ นระบบเศรษฐกจิ มมี ลู คา่ เกนิ จรงิ สะทอ้ นใหเ้ หน็ ไดจ้ ากตวั ชวี้ ดั ตา่ งๆ ในตลาดหลกั ทรพั ยแ์ ละตลาด
อสงั หารมิ ทรัพย์ ส�ำหรับตลาดหลักทรัพย์ ใน พ.ศ. 2535 ดชั นตี ลาดหลกั ทรัพย์ของไทยปดิ อยู่ท่ี 893 จุด
และมีมูลค่าซ้ือขายเฉล่ียต่อวันท่ี 7,530 ล้านบาท แต่ใน พ.ศ. 2536 อันเป็นปีแรกท่ีไทยได้เปิดให้มี
วิเทศ-ธนกจิ ไทย ดชั นีตลาดหลกั ทรพั ย์เพิม่ ขนึ้ ไปปดิ ท่ี 1,682 จุด ขณะท่มี ูลคา่ การซื้อขายเฉลีย่ ตอ่ วันได้
เพ่ิมขึน้ ถงึ 8,984 ลา้ นบาท โดยมูลค่าการซ้ือขายรวมของตลาดไดเ้ พมิ่ ข้นึ จากประมาณ 1.49 ลา้ นบาทใน
พ.ศ. 2535 ไปเปน็ 3.33 ลา้ นบาทใน พ.ศ. 2536 ส�ำหรับธุรกิจอสงั หาริมทรัพย์นั้นภาวะฟองสบู่ไมเ่ พียง
แตท่ �ำใหด้ ชั นหี นุ้ ในหมวดอสงั หารมิ ทรพั ยเ์ พม่ิ มากขนึ้ ในตลาดหลกั ทรพั ยเ์ ทา่ นนั้ แตย่ งั ทำ� ใหส้ นิ เชอ่ื จากสถาบนั
การเงนิ ในระบบสำ� หรบั สนิ คา้ อสงั หารมิ ทรพั ยข์ ยายตวั สงู ขน้ึ โดยเพม่ิ จาก 264,391 ลา้ นบาทใน พ.ศ. 2535

         18 สมภพ มานะรังสรรค.์ (2540). พิจารณาว่า ปัจจัยสนบั สนนุ ทดี่ งึ ดูดให้ญปี่ นุ่ ยา้ ยฐานการผลิตมาสู่กล่มุ ประเทศอาเซยี น
ภายหลังจากข้อตกลงพลาซ่านอกจากเพ่ือลดแรงกดดันของอัตราแลกเปลี่ยนแล้ว ประเทศเหล่านนี้ยังมีภูมิศาสตร์ที่ไม่ห่างไกลจาก
ญ่ีปุ่นมากนัก และส่วนใหญ่เป็นประเทศท่ีเป็นเกาะหรือมีชายฝั่งทะเลอันกว้างขวางเหมาะแก่การบริหารการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม
ท่ีต้องพึ่งการน�ำเข้าและส่งออก นอกจากนี้ ประเทศสมาชิกอาเซียนยังเป็นฐานการลงทุนของญ่ีปุ่นอยู่แล้ว ความได้เปรียบทางด้าน
การบรหิ ารตน้ ทนุ จาการทปี่ ระเทศเหลา่ นมี้ ปี จั จยั การผลติ ราคาถกู โดยเฉพาะแรงงานและวตั ถดุ บิ มคี วามพรอ้ มทางดา้ นสาธารณปู โภค
พน้ื ฐาน ทงั้ ยงั มคี วามไดเ้ ปรียบด้านการตลาด เนอื่ งจากตลาดภายในกลมุ่ ประเทศอาเซยี นมศี ักยภาพในการบรโิ ภคและอ�ำนาจซือ้ สูง
รวมทั้งประเทศสมาชิกอาเซียนยังมีนโยบายท่ีเปิดกว้างในการรับการลงทุนจากต่างประเทศต้ังแต่ทศวรรษที่ 1960 โดยมีมาตรการ
ส่งเสรมิ การลงทุนทงั้ โดยตรงและโดยออ้ ม
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64