Page 61 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 61

ประเทศไทยกับเศรษฐกจิ การเมืองระหว่างประเทศ 3-51
ประเทศเขา้ มาชว่ ยเหลอื โดยเขา้ รว่ มโครงการเงนิ กฉู้ กุ เฉนิ (Standny Agreement) เพอื่ กอบกสู้ ถานะของ
ทนุ สำ� รองของประเทศและสรา้ งความเชือ่ มน่ั ใหก้ ับนกั ลงทนุ ตา่ งประเทศต่อระบบเศรษฐกิจไทย

       วิกฤตเศรษฐกิจไทยท่ีเข้าใจกันในเบ้ืองต้นว่าเป็นปัญหาช่ัวคราวระดับประเทศและเป็นปัญหาที่
สืบเน่ืองจากความผิดพลาดในการบริหารจัดการของสถาบันการเงินไทยได้ลุกลามกลายเป็นปัญหาระดับ
ภูมิภาคเอเชียโดยรู้จักกันดีในนาม “โรคต้มย�ำกุ้ง” ซ่ึงได้ส่งผลสืบเนื่องให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจในประเทศ
เกาหลใี ต้ มาเลเซยี ฟลิ ิปปนิ ส์ และอนิ โดนเี ซยี วิกฤตการณ์ทเี่ กิดขน้ึ นอกจากจะสะทอ้ นให้เห็นถงึ ปัญหา
เรอื้ รงั ของโครงสรา้ งเศรษฐกจิ และสงั คมไทยทงั้ ระบบแลว้ ยงั ถกู หยบิ ยกขนึ้ มาพจิ ารณาเปน็ ปญั หาเสถยี รภาพ
ของระบบทนุ นิยมโลกดว้ ย

       การเจรจาระหวา่ งตวั แทนของรฐั บาลไทยและผบู้ รหิ ารกองทนุ การเงนิ ระหวา่ งประเทศในชว่ งปลาย
เดอื นกรกฎาคม พ.ศ. 2540 นำ� ไปสกู่ ารตกลงยนิ ยอมรบั เงอื่ นไขตา่ งๆ ตามกรอบมาตรการของกองทนุ การเงนิ
ระหวา่ งประเทศ ดงั ปรากฏในหนงั สอื แสดงเจตจำ� นงขอรบั ความชว่ ยเหลอื ฉบบั ท่ี 1 ของรฐั บาลพลเอกชวลติ
ยงใจยทุ ธ ทสี่ ง่ มอบใหก้ องทนุ การเงนิ ระหวา่ งประเทศ ผลของการเจรจาเปน็ การแลกเปลยี่ นความชว่ ยเหลอื
ทางการเงนิ กบั การยนิ ยอมทำ� ขอ้ ตกลงเกย่ี วกบั การจดั ระเบยี บเศรษฐกจิ ของประเทศไทยเสยี ใหมต่ ามกรอบ
มาตรการท่กี องทุนการเงินระหว่างประเทศเหน็ ว่าเหมาะสม

       ในช่วงแรกของการปรับโครงสรา้ งทางเศรษฐกจิ ภายใต้การชี้น�ำของกองทนุ การเงินฯ เปน็ ไปตาม
แนวคดิ แบบเสรนี ยิ มใหมภ่ ายใตแ้ นวนโยบายของฉนั ทมตวิ อชงิ ตนั ทเี่ นน้ การสรา้ งเสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ
โดยรักษาอัตราดอกเบี้ยให้อยู่ในระดับสูงเพื่อป้องกันการไหลออกของเงินทุนจากต่างประเทศ นอกจากนี้
รัฐบาลไทยยังท�ำการลดการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดโดยก�ำหนดเป้าหมายว่าไม่ให้มีการขาดดุลเกินร้อยละ
5 ของผลติ ภณั ฑม์ วลรวมภายในประเทศใน พ.ศ. 2540 และเหลอื ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 3 นอกจากน้ี รัฐบาลได้
ลดงบประมาณจากการขาดดุลการคลังร้อยละ 1.6 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ มาเป็นนโยบาย
งบประมาณแบบเกนิ ดลุ โดยตงั้ เปา้ ทจ่ี ะมกี ารเกนิ ดลุ การคลงั รอ้ ยละ 1 ของผลติ ภณั ฑม์ วลรวมภายในประเทศ
ดว้ ยการเพม่ิ ภาษมี ลู คา่ เพ่มิ จากรอ้ ยละ 7 เปน็ ร้อยละ 10 ตลอดจนทำ� การตัดทอนงบประมาณสาธารณะใน
หลายๆ สว่ น โดยตดั ทอนงบประมาณแผน่ ดนิ ในปงี บประมาณ 2541 ลง 59,000 ลา้ นบาท รวมทงั้ ทำ� การแปรรปู
รฐั วสิ าหกจิ ใหเ้ ปน็ ของเอกชน ประเทศไทยไดด้ �ำเนนิ การตามคำ� แนะนำ� ของกองทนุ การเงนิ ฯอยา่ งเครง่ ครดั
แต่มาตราการต่างๆ ดังกล่าวกลับส่งผลให้อัตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศลดลง
จนถึงข้ันติดลบถึงร้อยละ 10.4 ใน พ.ศ. 2541 จนกองทุนการเงินฯ ต้องมีการทบทวนและปรับเปลี่ยน
มาตรการทางเศรษฐกจิ โดยใหร้ ฐั บาลไทยจดั งบประมาณขาดดลุ ไดร้ อ้ ยละ 3 ของผลติ ภณั ฑม์ วลรวมภายใน
ประเทศ เพอื่ กระตนุ้ เศรษฐกจิ โดยนโยบายงบประมาณขาดดลุ น้ดี �ำเนินต่อเน่อื งมาใน พ.ศ. 2542-2543
จนปจั จบุ นั

       นอกจากการด�ำเนินนโยบายงบประมาณขาดดุลแล้ว รัฐบาลไทยยังได้เพ่ิมเงินนอกงบประมาณ
เพอื่ ชว่ ยกระตนุ้ เศรษฐกจิ อกี ทางหนงึ่ ดว้ ย เชน่ โครงการเงนิ กขู้ องมยิ าซาวา (Miyasawa Plan) เงนิ กขู้ อง
ธนาคารโลก และธนาคารพัฒนาเอเชีย เป็นต้น ในระหว่าง พ.ศ. 2542-2543 อัตราการเติบโตของ
ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมภายในประเทศจงึ เพมิ่ ขนึ้ เปน็ รอ้ ยละ 4.2 และ 4.3 ตามลำ� ดบั รฐั บาลไทยยงั ดำ� เนนิ การ
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66