Page 63 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 63
ประเทศไทยกับเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศ 3-53
ให้เงินบาทอ่อนคา่ ลงนบั แต่กลาง พ.ศ. 2551 จากเฉลย่ี 32.19 บาทต่อดอลลาร์สหรฐั ในคร่งึ แรกของ พ.ศ.
2551 มาอยู่ที่ 34.21 บาทต่อดอลลาร์สหรฐั (ตลาดหลักทรพั ย์แหง่ ประเทศไทย, 2551)
อยา่ งไรกต็ าม วกิ ฤตเศรษฐกจิ ครง้ั นส้ี ง่ ผลทำ� ใหเ้ ศรษฐกจิ ทวั่ โลกชะลอตวั ลง ความตอ้ งการซอ้ื หรอื
อุปสงคใ์ นตลาดโลกลดลง ทำ� ใหม้ ลู คา่ สง่ ออกของไทยหดตวั ลงตงั้ แตป่ ลาย พ.ศ. 2551 โดยเฉพาะในช่วง
ไตรมาสสุดทา้ ยของ พ.ศ. 2551 โดยปริมาณการส่งออกของไทยหดตวั ร้อยละ 8.9 และมูลค่าการส่งออก
ในรปู เงนิ ดอลลารส์ หรฐั ลดลงรอ้ ยละ 9.4 และในไตรมาสที่ 1 ของ พ.ศ. 2552 การคา้ ตา่ งประเทศของไทยมี
มูลค่าทั้งสิ้น 60,519.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐโดยเป็นมูลค่าการส่งออกเท่ากับ 33,787.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
และมูลคา่ การนำ� เข้าเทา่ กบั 26,732.5 ล้านดอลลาร์สหรฐั ซ่ึงเมื่อเทยี บกบั ไตรมาสท่แี ล้วมูลค่าการสง่ ออก
ลดลงร้อยละ 12.79 และมูลคา่ การน�ำเข้าลดลงรอ้ ยละ 33.42 การที่สถานการณก์ ารคา้ ในชว่ งไตรมาสที่ 1
ของ พ.ศ. 2552 มมี ลู คา่ ลดลงจากไตรมาสที่ 4 ของ พ.ศ. 2551 เปน็ ผลตอ่ เนอ่ื งจากวกิ ฤตการณเ์ ศรษฐกจิ โลก
ทเ่ี กดิ ขนึ้ ใน พ.ศ. 2551 สำ� หรบั นกั ทอ่ งเทยี่ วตา่ งชาตใิ นชว่ งไตรมาสแรกของ พ.ศ. 2552 มจี ำ� นวน 3.7 ลา้ นคน
ลดลงรอ้ ยละ 15.2 จากชว่ งเดยี วกันของ พ.ศ. 2551 เมื่อเทียบกบั ท่ีลดลงรอ้ ยละ 19.4 ในไตรมาสสดุ ทา้ ย
ของ พ.ศ. 2551 การลดลงของจ�ำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติน้ีเป็นผลร่วมกันของวิกฤตเศรษฐกิจโลกและ
ความไมส่ งบทางการเมอื งในประเทศของไทย (ธนาคารแห่งประเทศไทย, 2552)
หลงั วิกฤตเศรษฐกิจโลกผา่ นไป 6 ปี เศรษฐกจิ ไทยใน พ.ศ. 2557 ยงั ขยายตัวไดน้ ้อย กลา่ วคอื
ขยายตวั เพียงร้อยละ 0.7 จาก พ.ศ. 2556 ท่ีมอี ตั ราการขยายตัวเพยี งรอ้ ยละ 2.9 เน่อื งจากขอ้ จำ� กัดดา้ น
การเติบโตจากท้ังปัจจัยภายในและภายนอกประเทศ ปัจจัยภายในที่ส�ำคัญก็คือสถานการณ์ทางการเมือง
ซึ่งส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินงานของภาครัฐและความเชื่อมั่นของครัวเรือน ธุรกิจ รวมท้ังนักท่องเท่ียว
สว่ นปจั จยั ภายนอกยงั คงไดร้ บั ผลกระทบจากการฟน้ื ตวั ชา้ ของภาวะเศรษฐกจิ โลกทำ� ใหอ้ ปุ สงคต์ า่ งประเทศ
ขยายตวั นอ้ ย การสง่ ออกสนิ คา้ ของไทยยงั ออ่ นแอตามภาวะเศรษฐกจิ ประเทศคคู่ า้ หลกั โดยเฉพาะประเทศ
จีน ญี่ปุ่น และกลุ่มประเทศยุโรป รวมท้ังไทยยังเผชิญกับข้อจ�ำกัดด้านการผลิตสินค้าที่ใช้เทคโนโลยีสูง
ภายใต้สถานการณ์ดงั กลา่ วการผลติ และการลงทุนใหม่จงึ ชะลอตวั ลง (ธนาคารแห่งประเทศไทย, 2557)
กลา่ วโดยสรปุ การสนิ้ สดุ ลงของความขดั แยง้ ทางการเมอื งและอดุ มการณร์ ะหวา่ ง 2 ขว้ั มหาอำ� นาจ
สง่ ผลใหร้ ะบบเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศหลงั สงครามเยน็ ทม่ี ลี กั ษณะโลกาภวิ ตั นค์ รอบคลมุ ไปทว่ั โลก
ภายใต้แนวนโยบายแบบเสรีนิยมใหม่ตามแนวทางฉันทมติวอชิงตัน การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้ท�ำให้
ประเทศตา่ งๆ หนั มาแข่งขันกันทางเศรษฐกิจมากยง่ิ ขนึ้ ประเทศไทยภายใต้โครงสรา้ งเศรษฐกิจการเมอื ง
ระหว่างประเทศหลังสงครามเย็นได้เดินหน้าด�ำเนินนโยบายตามการปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์การพัฒนา
ประเทศแบบเนน้ การพฒั นาอตุ สาหกรรมเพอื่ การสง่ ออกซง่ึ ไดว้ างแนวทางมาแลว้ ตง้ั แตป่ ลายยคุ สงครามเยน็
การดำ� เนนิ การตามแนวทางดงั กลา่ วผนวกกบั ผลกระทบจากขอ้ ตกลงพลาซา่ ทที่ ำ� ใหเ้ กดิ การเคลอ่ื นยา้ ยของ
ทนุ และฐานการผลติ มายงั ภมู ภิ าคเอเชยี อาคเนย์ สง่ ผลใหเ้ ศรษฐกจิ ไทยเตบิ โตอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง อยา่ งไรกต็ าม
ผลกระทบในทางลบจากการไหลเข้าออกของทุนจากนโยบายเปิดเสรีทางการเงินท�ำให้ไทยต้องเผชิญกับ
ปญั หาเศรษฐกจิ ฟองสบใู่ น พ.ศ. 2540 โดยตอ้ งดำ� เนนิ การตามแนวทางของกองทนุ การเงนิ ระหวา่ งประเทศ
ท�ำให้ไทยถูกผนวกเข้ากับเศรษฐกิจโลกอย่างแนบแน่นมากย่ิงขึ้นผ่านการไหลเข้าออกอย่างเสรีของทุน