Page 67 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 67

ประเทศไทยกบั เศรษฐกิจการเมืองระหวา่ งประเทศ 3-57
ของบรรษัทข้ามชาติกับรัฐจึงเป็นเร่ืองที่ผิดฝาผิดตัว และแม้ว่าจะยอมรับกันว่าทั้งบรรษัทข้ามชาติและรัฐ
ต่างก็มีอ�ำนาจและบทบาท แต่อ�ำนาจและบทบาทของตัวแสดงท้ัง 2 ในระบบเศรษฐกิจการเมืองระหว่าง
ประเทศมคี วามแตกตา่ งกนั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งรฐั กบั บรรษทั ขา้ มชาตจิ งึ มคี วามสลบั ซบั ซอ้ นผา่ นการเจรจา
ตอ่ รองกนั และขนึ้ กบั บรบิ ทของเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศในแตล่ ะชว่ งเวลา เชน่ ในชว่ งทเี่ ศรษฐกจิ
ถดถอย ปริมาณการเคลื่อนย้ายการลงทุนโดยตรงลดลง การแข่งขันระหว่างบรรษัทข้ามชาติด้วยกัน
โดยเฉพาะการแยง่ สว่ นแบง่ การตลาดเปน็ ไปอยา่ งเขม้ ขน้ รฐั ตา่ งๆ กต็ อ้ งแขง่ ขนั กนั ดงึ ดดู บรรษทั ขา้ มชาติ
ใหม้ าลงทนุ ในประเทศของตน ทำ� ใหก้ ารแขง่ ขนั กนั ระหวา่ งรฐั กบั รฐั เขม้ ขน้ มากขนึ้ ขณะเดยี วกนั การตอ่ รอง
ระหว่างรัฐกับบรรษัทข้ามชาติก็มีความเข้มข้นขึ้นด้วย เพราะบรรษัทข้ามชาติก็ต้องการข้อเสนอที่สร้าง
ประโยชนก์ บั ตนมากทส่ี ดุ จากรฐั และรฐั กต็ อ้ งการดงึ ดดู บรรษทั ขา้ มชาตใิ หเ้ ขา้ มาลงทนุ ใหไ้ ดร้ บั ผลประโยชน์
กับรฐั ของตนมากทีส่ ุด

       นอกจากประเดน็ เรอ่ื งบทบาทและอทิ ธพิ ลของบรรษทั เมอื่ เทยี บกบั รฐั แลว้ บทบาทและอทิ ธพิ ลของ
บรรษัทยังถูกต้ังค�ำถามในเรื่องความฉ้อฉลหรือขาดธรรมาภิบาล (Corporate governace scandals)
ตวั อย่างเช่น กรณี Enron (ค.ศ. 2001) ซึง่ เป็นบรรษทั พลงั งานยักษใ์ หญข่ องอเมรกิ นั ทม่ี ีการปกปดิ ฐานะ
การเงินที่แท้จริงบริษัทและตกแต่งตัวเลขบัญชี รวมถึงการท�ำผิดกฎหมายของบริษัทธุรกิจขนาดใหญ่ท่ีมี
ชอ่ื เสยี งอกี มากมาย ไดแ้ ก่ WorldCom Inc. Tyco International Ltd. และ Adelphia Communications
Corp นอกจากน้ี บทบาทและอิทธิพลของบรรษัทยังถูกตั้งค�ำถามในเร่ืองความไม่เท่าเทียมกันในระบบ
เศรษฐกิจการเมืองระหวา่ งประเทศ ดงั ทจ่ี ะได้กลา่ วตอ่ ไป

2. 	 ประเด็นความไม่เท่าเทียมกันในระบบเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ

       ประเดน็ ความไมเ่ ทา่ เทยี มกนั ในระบบเศรษฐกจิ การเมอื งระหวา่ งประเทศไมใ่ ชเ่ รอ่ื งใหม่ แตม่ กี ารกลา่ ว
ถึงประเด็นน้ีมาต้ังแต่ยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เม่ือมีการตั้งค�ำถามเรื่องการด้อยพัฒนาของประเทศ
ในโลกท่ีสามว่าเกิดจากสาเหตุใด ตัวอย่างเช่น ทฤษฎีพึ่งพิงที่มองการด้อยพัฒนาของประเทศในภูมิภาค
ลาตินอเมริกาว่ามาจากความสัมพันธ์ในรูปที่ประเทศด้อยพัฒนาต้องพ่ึงพิงประเทศพัฒนาแล้วทั้งทางด้าน
การค้า การลงทุน เทคโนโลยี และความช่วยเหลือ อย่างไรก็ตาม ความสัมพันธ์แบบพ่ึงพิงดังกล่าวน้ี
เปน็ ไปอยา่ งเอารดั เอาเปรยี บทำ� ใหป้ ระเทศโลกทส่ี ามตอ้ งตกอยใู่ นกบั ดกั ของความดอ้ ยพฒั นา หรอื การอธบิ าย
โดยทฤษฎจี กั รวรรดินยิ มของเลนิน ทฤษฎรี ะบบโลกวอลเลอรส์ ไตน์ ดงั ทไี่ ด้กลา่ วมาแล้วในเร่อื งท่ี 3.1.2

       ระบบเศรษฐกจิ การเมอื งโลกในชว่ งหลงั สงครามเยน็ บนฐานของเสรนี ยิ มใหมใ่ นยคุ โลกาภวิ ตั นท์ าง
เศรษฐกจิ และสงั คมในดา้ นหนงึ่ ไดส้ ง่ ผลใหป้ ระเทศจำ� นวนหนง่ึ โดยเฉพาะในกลมุ่ ประเทศอตุ สาหกรรมใหม่
ในเอเชียสามารถไล่กวดหรือลดช่องวา่ งทางรายได้ทีเ่ คยมกี ับประเทศท่ีพัฒนา (Income Convergence)
ขณะเดยี วกนั กส็ ง่ ผลใหป้ ระเทศจำ� นวนหนง่ึ โดยเฉพาะประเทศในทวปี แอฟรกิ ามชี อ่ งวา่ งทางรายไดถ้ า่ งออกจาก
ประเทศพัฒนาแลว้ และประเทศอตุ สาหกรรมใหมม่ ากยิ่งข้นึ (Income Divergence) แตเ่ มือ่ พจิ ารณาใน
ภาพรวมจะเห็นว่าช่องว่างรายได้ระหว่างกลุ่มคนร�่ำรวยและยากจนในโลกนั้นถ่างออกจากกันมากข้ึน ใน
ค.ศ. 2010 Credit Suisse Research Institute พบวา่ กลมุ่ คนรำ�่ รวยทส่ี ดุ รอ้ ยละ 0.5 ของโลกนนั้ ครอบครอง
ความมง่ั คง่ั ปรมิ าณถงึ 1 ใน 3 ของโลกเอาไว้
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72