Page 70 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 70

3-60 ไทยในเศรษฐกิจโลก

3.	 ประเด็นปัญหาส่ิงแวดล้อมของโลก

       ประเด็นปัญหาส่ิงแวดล้อมโลกเกิดขึ้นสืบเนื่องจากแนวทางการพัฒนาประเทศต่างๆ ภายหลัง
การสนิ้ สดุ ลงของสงครามโลกคร้งั ท่ี 2 ต้งั อยบู่ นฐานแนวคิดทีเ่ น้นหรือใหค้ วามสำ� คญั กบั ความเจรญิ เตบิ โต
ทางดา้ นเศรษฐกจิ ทมี่ งุ่ ไปทกี่ ารขยายตวั ของปรมิ าณสนิ คา้ และบรกิ าร หรอื การเพม่ิ ขน้ึ ของรายไดป้ ระชาชาติ
เป็นส�ำคัญ ตวั อยา่ งเชน่ องคก์ ารสหประชาชาตไิ ดป้ ระกาศใหช้ ่วง ค.ศ. 1960-1970 หรอื ทศวรรษที่ 1970
เป็นทศวรรษแห่งการพัฒนา (Development Decade) เพื่อกระตุ้นให้ประเทศต่างๆ ด�ำเนินการพัฒนา
ตามทฤษฎกี ารทำ� ใหท้ นั สมยั ตามแนวทางของประเทศพฒั นาแลว้ ในตะวนั ตก แนวทางดงั กลา่ ว คอื การเรง่
พฒั นาประเทศใหเ้ ปน็ ประเทศอตุ สาหกรรม โดยมงุ่ เนน้ การพฒั นาใหม้ คี วามเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ โดยมี
วตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื แกป้ ญั หาสำ� คญั ทป่ี ระเทศกำ� ลงั พฒั นาสว่ นใหญก่ ำ� ลงั ประสบอย2ู่ 7 อยา่ งไรกด็ ี แนวคดิ การพฒั นา
แบบนเ้ี รม่ิ ถกู ทา้ ทายเมอ่ื สนิ้ ทศวรรษแหง่ การพฒั นาใน ค.ศ. 1970 เนอื่ งจากการพฒั นาในรปู แบบดงั กลา่ วขา้ งตน้
สง่ ผลกระทบใหเ้ กดิ ปญั หาทส่ี ำ� คญั 2 ดา้ น ดา้ นหนง่ึ ไดก้ ลา่ วถงึ ไปแลว้ คอื ปญั หาความไมเ่ ทา่ เทยี มกนั และ
อกี ด้านหน่งึ คอื ปัญหาความเสือ่ มโทรมของธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอ้ ม

       การตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของสงิ่ แวดลอ้ มและปญั หาสงิ่ แวดลอ้ มเรม่ิ ตน้ ขน้ึ เมอ่ื องคก์ ารสหประชาชาติ
ได้จัดให้มีการประชุมว่าด้วย สิ่งแวดล้อมของมนุษย์ (United Nations Conference on the Human
Environment) ณ กรุงสต็อกโฮล์ม ประเทศสวีเดน ใน ค.ศ. 1972 ผลของการประชุมน้ี คือ ปฏิญญา
กรงุ สต็อกโฮลม์ (The Stockholm Declaration (1972) ซงึ่ ประกอบด้วยหลักการ 26 ข้อท่ีเกย่ี วข้องกบั
สิ่งแวดล้อมกับมนุษย์ (UNDP, 1972) อย่างไรก็ตาม ปฏิญญากรุงสต็อกโฮล์มยังคงไม่สามารถประสาน
ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศตา่ งๆ เพอื่ หยดุ ยงั้ การพฒั นาทท่ี ำ� ลายสงิ่ แวดลอ้ มลงได้ เนอื่ งจากสภาพแวดลอ้ ม
ของโลกในภมู ภิ าคตา่ งๆ ยงั คงถกู ทำ� ใหเ้ สอ่ื มทรามลง องคก์ ารสหประชาชาตจิ งึ ไดจ้ ดั ตงั้ คณะกรรมาธกิ ารโลก
ว่าด้วยส่ิงแวดล้อมและการพัฒนา (World Commission on Environment and Development:
WCED) หรอื ทรี่ จู้ กั ทวั่ ไปวา่ คณะกรรมาธกิ ารบรนั ดทแ์ ลนด์ (Brundtland Comission)28 ขน้ึ ใน ค.ศ. 1983
และตอ่ มาคณะกรรมาธกิ ารโลกวา่ ดว้ ยสงิ่ แวดลอ้ มและการพฒั นาไดท้ �ำการศกึ ษาเรอ่ื งการสรา้ งความสมดลุ
ระหวา่ งสงิ่ แวดลอ้ มกบั การพฒั นา โดยเสนอและเผยแพรเ่ อกสารสำ� คญั ทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ แนวความคดิ เรอื่ งการพฒั นา
อย่างยงั่ ยนื ท่ีชือ่ “อนาคตท่มี รี ่วมกนั ”29 หรอื “Our Common Future” ใน ค.ศ. 1986

       ตอ่ มาองคก์ ารสหประชาชาตไิ ดจ้ ดั ใหม้ กี ารจดั ประชมุ สหประชาชาตวิ า่ ดว้ ยสง่ิ แวดลอ้ มและการพฒั นา
(UN Conference on Environment and Development: UNCED) หรอื ทร่ี จู้ กั กนั ในนามการประชมุ สดุ ยอด
ของโลก (Earth Summit) หรอื การประชมุ รโิ อ (Rio Conference) ณ กรงุ รโิ อ เดอ จาเนโร (Rio de Janeiro)

         27 ปัญหาดงั กลา่ วกค็ ือ ปญั หาความยากจน ปญั หาการไม่รู้หนังสือ และปัญหาสุขภาพจากความเจ็บปว่ ย
         28 คณะกรรมการน้ีเรียกช่ือตามประธานคณะกรรมการโลกว่าด้วยส่ิงแวดล้อมและการพัฒนา คือ นาย Gro Harlem
Brundtland
         29 รายงานฉบับน้ียังได้ให้ค�ำจ�ำกัดความของ “การพัฒนาอย่างยั่งยืน” (sustainable development) เป็นคร้ังแรก ว่า
“เปน็ การพฒั นาทตี่ อบสนองความตอ้ งการของคนปจั จบุ นั โดยไมบ่ นั่ ทอนความสามารถทจี่ ะตอบสนองความตอ้ งการของคนรนุ่ ตอ่ ๆ ไป
โดยเปน็ การพัฒนาทต่ี ้องสรา้ งความสมดุลระหวา่ ง 3 เสาหลกั คือ ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม และสิง่ แวดลอ้ ม
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75