Page 71 - ไทยในเศรษฐกิจโลก
P. 71
ประเทศไทยกับเศรษฐกจิ การเมืองระหว่างประเทศ 3-61
ประเทศบราซลิ ข้ึน ใน ค.ศ. 1992 ท่ปี ระชมุ ดงั กลา่ วได้มีมติให้การรบั รองเอกสารสำ� คญั 3 ฉบับ30 โดยมี
แผนปฏบิ ตั กิ าร 21 (Agenda 21) เปน็ แผนแมบ่ ทเพอ่ื การพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื ของประชาคมโลก แผนปฏบิ ตั ิ
การนี้ไดก้ �ำหนดกิจกรรมตา่ งๆ ท่เี กีย่ วข้องกับการพัฒนาในมิตดิ ้านเศรษฐกจิ สังคม และสง่ิ แวดล้อมอย่าง
สมดุล พร้อมท้งั กระตนุ้ ให้รัฐบาลประเทศตา่ งๆ สรา้ งกลยทุ ธก์ ารพัฒนาอยา่ งยั่งยืน โดยมุ่งเน้นการพฒั นา
เศรษฐกิจท่ีรับผิดชอบต่อสังคม ในขณะเดียวกันก็ให้การคุ้มครองฐานทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม เพ่ือ
ผลประโยชนข์ องคนในรนุ่ ตอ่ ไป ดว้ ยการเปดิ โอกาสใหก้ ลมุ่ ตา่ งๆ ในสงั คมเขา้ มามสี ว่ นรว่ มอยา่ งกวา้ งขวาง
ทสี่ ดุ ซึ่งจะท�ำใหเ้ กดิ การพัฒนาอย่างย่ังยืนร่วมกันตอ่ ไปได้
ใน ค.ศ. 2012 หรืออีก 20 ปีถัดมานับตั้งแต่การประชุมริโอ การประชุมสหประชาชาติว่าด้วย
สง่ิ แวดลอ้ มและการพฒั นาทย่ี งั่ ยนื ไดถ้ กู จดั ขน้ึ อกี ครง้ั ทเ่ี มอื งรโิ อ เด จาเนโร ประเทศบราซลิ ในชว่ งระหวา่ ง
วันที่ 4-6 มิถุนายน ค.ศ. 2012 โดยมี 192 ประเทศเข้าร่วมประชุมภายใต้ชื่อ Rio+20 ซ่ึงการประชุม
Rio+20 น้ี ถอื เปน็ โอกาสฉลองครบรอบ 20 ปี การประชมุ Earth Summit ในปี 1992 ทไ่ี ดก้ อ่ ใหเ้ กดิ กระแส
แนวความคดิ การพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื จนไดร้ บั การยอมรบั ตอ่ สาธารณชนในวงกวา้ ง การประชมุ Rio+20 ครง้ั
ลา่ สดุ นม้ี กี ารกำ� หนดหวั ขอ้ หลกั ในการประชมุ ไว้ 2 เรอ่ื ง คอื เศรษฐกจิ สเี ขยี วในบรบิ ทของการพฒั นาอยา่ ง
ย่ังยนื และการขจดั ความยากจน (Green Economy in the Context of Sustainable Development
and Poverty Eradication) และการปฏริ ปู เชงิ สถาบนั เพอ่ื การพฒั นาทย่ี งั่ ยนื (Institutional Framework
for Sustainable Development)
แนวคดิ เรอ่ื งเศรษฐกจิ สเี ขยี วในบรบิ ทของการพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื และการขจดั ความยากจนเกดิ จาก
การทผี่ ูค้ นส่วนใหญเ่ ร่มิ ตระหนักว่า การเติบโตทางเศรษฐกจิ และการลงทนุ ที่ดำ� เนินไปน้ันตอ้ งแลกมาด้วย
การสญู เสยี ทรพั ยากรทม่ี คี า่ และคณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ มกเ็ สอื่ มโทรมลง รวมทง้ั เกดิ ปญั หาการกดี กนั ทางสงั คม
ท�ำให้กลุม่ คนจนไม่ได้รบั ผลประโยชนจ์ ากการพฒั นาเท่าทคี่ วร แนวคดิ เศรษฐกิจสเี ขยี วดงั กลา่ วจึงเน้นยำ้�
ให้ตระหนักว่า การค�ำนึงถึงแต่มิติของสิ่งแวดล้อมแต่เพียงอย่างเดียวไม่สามารถน�ำไปสู่การพัฒนาอย่าง
ยง่ั ยืนได้ การจะทำ� ให้เกิดการพัฒนาอยา่ งยั่งยนื น้ันจำ� เป็นตอ้ งมีการจัดการระบบเศรษฐกิจอย่างเป็นธรรม
ดว้ ย
ดว้ ยเหตนุ ี้ แนวคดิ เรอื่ งเศรษฐกจิ สเี ขยี วจงึ เปน็ การขยายขอบเขตของการพจิ ารณาการพฒั นาแบบ
ย่ังยืน ทเี่ รม่ิ ตน้ จากการนำ� มิตดิ า้ น “สงิ่ แวดล้อม” มาเชือ่ มโยงกบั มติ ดิ ้าน “การพฒั นา” เกดิ เปน็ แนวคิด
“การพัฒนาที่ย่ังยืน” ในช่วงแรก และเม่ือเห็นว่ามิติด้านเศรษฐกิจโดยเฉพาะความไม่เท่าเทียมกันเป็น
สาเหตุของการพัฒนาทีไ่ มย่ ัง่ ยืน จงึ ไดน้ �ำเอามิตดิ ้าน “ความเป็นธรรมทางสงั คม” มาเชื่อมโยงกับมิตดิ ้าน
“สง่ิ แวดลอ้ ม” และ “เศรษฐกจิ ” ดงั นน้ั ปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มโลกจงึ นบั เปน็ ปญั หาสำ� คญั ของเศรษฐกจิ การเมอื ง
ระหว่างประเทศหลังสงครามเย็นซงึ่ แนน่ อนว่าจะตอ้ งพจิ ารณาควบคไู่ ปกบั ปญั หาส�ำคญั อีก 2 ปญั หาทีไ่ ด้
กลา่ วถึงมาแล้วคอื ปญั หาอ�ำนาจและอทิ ธิพลของบรรษัทข้ามชาตแิ ละปัญหาความไมเ่ ทา่ เทียมกัน
30 เอกสารส�ำคัญ 3 ฉบับดังกล่าว ได้แก่ ปฏิญญาริโอว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา (Rio Declaration on
Environment and Development) แถลงการณ์เกี่ยวกับหลักการทางด้านป่าไม้ (Statement of Forest Principle) และ
แผนปฏบิ ัติการ 21 (Agenda 21)